โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
อาหารหลัก 5 หมู่.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
บทที่ 2.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
เมนูชูสุขภาพ วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
โรคติดต่อ นำเสนอโดย คุณครูบุปผา ศิลปะ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กำหนดการปฐมนิเทศโครงการเท่ห์กินผัก น่ารักกินผลไม้
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
การปลูกพืชผักสวนครัว
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
ปัญหาทางการศึกษา อุปสรรคทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านดอนกลาง
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สกลนครโมเดล.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
อาหารทารก แรกเกิด - 12เดือน
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
จริยธรรมของนักธุรกิจอาหาร
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
อาหารใน ชีวิตประจำวัน
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข เชี่ยวชาญโภชนาการ โฆษกกระทรวงสาธารณสุข อุปนายกสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ผู้จัดการโครงการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อเด็กไทยโภชนาการสมวัย

ประเด็น โภชนาการเด็กวัยเรียน ปัญหาโภชนาการและพฤติกรรมการกิน โภชนบัญญัติ คัมภีร์การกิน โภชนบัญญัติสู่การปฏิบัติในเด็กวัยเรียน

ที่จะเติบใหญ่เป็นต้นไม้ เด็กไทยคือ… ต้นกล้าแห่งสังคมไทย ที่จะเติบใหญ่เป็นต้นไม้ คลุมแผ่นดินไทยให้ ร่มเย็นและผาสุก 3

ถ้าต้นกล้างอกงามดี มีความสมบูรณ์ตามวัย จะกลายเป็น ต้นใหญ่ที่แข็งแกร่ง มีพลังแรง สร้างแผ่นดิน 4

ความจริงของต้นกล้า เติบโตด้านร้างกาย และสมองเร็วมาก การเติบโตต้องพึ่งพาอาหาร และ โภชนาการ และการเลี้ยงดู 5

อาหารพอเพียงพอเหมาะก่อให้ ต้นกล้าไทยเติบใหญ่ โภชนาการดี อาหารพอเพียงพอเหมาะก่อให้ ต้นกล้าไทยเติบใหญ่ โภชนาการดี 6

ปัญหาของต้นกล้า เจ็บป่วย อ่อนแอ เรียนรู้ช้า ได้รับอาหารไม่ เพียงพอ/ขาดคุณภาพ พร่องสารอาหาร ตัวเตี้ย สมองเล็ก IQ ต่ำ เจ็บป่วย อ่อนแอ เรียนรู้ช้า 7

ได้รับอาหารล้นเกิน อ้วน โรควิถีชีวิต ปัญหาของต้นกล้า II ได้รับอาหารล้นเกิน อ้วน โรควิถีชีวิต 8

เด็กไทยในโรงเรียน คือ ต้นกล้าที่ผู้ใหญ่ ต้องใส่ใจ รดน้ำ พรวนดิน เด็กไทยในโรงเรียน คือ ต้นกล้าที่ผู้ใหญ่ ต้องใส่ใจ รดน้ำ พรวนดิน 9

รดน้ำ พรวนดิน คือ การดูแล เอาใจใส่ ด้านโภชนาการ และพัฒนาการ เพื่อ ให้มีศักยภาพของการเรียนรู้ สู่ความเป็นเลิศ 10

ทุพโภชนาการในเด็ก เกิดมาจากหลายปัจจัย แต่ พฤติกรรมการกินที่ไม่พึงประสงค์ คือ ปัจจัยหลักและสำคัญยิ่ง

พฤติกรรมการกินที่ไม่พึงประสงค์ กินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ไม่ได้สัดส่วน กินแป้งจากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่ข้าว กินผัก ผลไม้น้อยลง กินโปรตีนจากเนื้อสัตว์มากไป ดื่มนมยังไม่เหมาะสม กินอาหารหวาน มัน เค็มมาก กินอาหารปนเปื้อน ริดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

พฤติกรรมการกินไม่พึงประสงค์ กำหนดเป็น โภชนบัญญัติ 9 ประการ เพื่อ พัฒนาพฤติกรรมการกินที่พึงประสงค์

โภชนบัญญัติ 9 ประการ ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพ ที่ดีของคนไทย….. โภชนบัญญัติ 9 ประการ ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพ ที่ดีของคนไทย….. FBDG (FOOD DIETARY GUIDELINES FOR THAI)

โภชนบัญญัติ เป็น คัมภีร์แห่งการกินของ คนไทยยุคใหม่

สรุป จากอาหารหลัก 5 หมู่ สู่ โภชนบัญญัติ พัฒนามาเป็น ธงโภชนาการ แล้วจะลงจานผ่านเข้าปากได้อย่างไร ?

ความไม่รู้ ความไม่ตระหนัก เด็กจึงไม่รู้จักกินอาหารตาม โภชนบัญญัติ

จะทำให้เด็กไทย ได้มีความรู้ คู่ ความตระหนัก เพื่อ จะได้รู้จักกินอาหารตามโภชนบัญญัติ ได้อย่างไร ?

เป็นคำถาม ที่ทุกท่านจะมาช่วยกัน หาคำตอบ ถ้าได้ท่านคือ เป็นคำถาม ที่ทุกท่านจะมาช่วยกัน หาคำตอบ ถ้าได้ท่านคือ ... ผู้กำหนดนวัตกรรมทางโภชนาการ ให้กับประเทศไทย

ชุดการเรียนการสอน โภชนบัญญัติและธงโภชนาการ คือ มติใหม่หรือนวัตกรรม การพัฒนาพฤติกรรมการกินของเด็กไทย

แนวคิดการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ เรียนรู้บูรณาการในสาระการเรียนการสอน เรียนรู้อยู่ในวิถีชีวิต เรียนรู้คู่ความสนุกประยุกต์ได้ เรียนรู้คู่การมีส่วนร่วม เรียนรู้สู่การปฎิบัติ

นวัตกรรมติที่ได้ จะทดลองใช้และประเมิน แล้วเดินหน้าต่อ เมื่อมั่นใจพอ ขอขยายนำไปใช้ทั่วประเทศ

ขอบคุณและสวัสดี