สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้วิธีการสอนแบบสาธิต และการใช้กรณีศึกษาเพื่อส่งเสริมความรู้ในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ The Development of Blended Learning Model Using Demonstration and Case Study Method to Enhance Knowledge of Breast Cancer Screening for Student of Police Nursing College กุลชัย กุลตวนิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย k.kulachai@gmail.com ชุติวัฒน์ สุวัตถิพงศ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย chu9372@Hotmail.com
สามารถรักษาให้หายได้ หากตรวจพบในระยะแรกเริ่ม แนวโน้มการเสียชีวิตสูงขึ้นทุกปี สามารถรักษาให้หายได้ หากตรวจพบในระยะแรกเริ่ม
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาความเห็น ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการสอนตรวจ คัดกรองมะเร็งเต้านม วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง นักศึกษาพยาบาลตำรวจ จำนวน 65 คน ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาอนามัยชุมชน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการรับรองรูปแบบ ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ระยะที่ 1 พัฒนาเครื่องมือในการวัดประเมิน วิเคราะห์ การสอน ระยะที่ 2 กำหนด จุดมุ่งหมายการสอน กำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ออกแบบกลวิธีการสอน ทดลองใช้รูปแบบ การเรียน ประเมินผล ศึกษาคุณลักษณะของผู้เรียน ออกแบบ และพัฒนา สื่อการสอน ระยะที่ 3 รับรองรูปแบบฯ
กำหนด จุดมุ่งหมาย การสอน ศึกษาคุณลักษณะ ของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม สามารถปฏิบัติการตรวจคัดกรองเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง ตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 1 วิเคราะห์ การสอน ระยะเวลาไม่เพียงพอ การสอนมุ่งเน้นความรู้ความจำ สภาพภายในชั้นเรียนไม่เหมาะ 2 ศึกษาคุณลักษณะ ของผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้น้อย ไม่เคยฝึกปฏิบัติ ผู้เรียนมีพื้นฐานในการอ่านข้อมูลและศัพท์ทางการแพทย์ ผู้เรียนไม่เข้าใจถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรอง 3
กำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของโรคมะเร็งเต้านมได้ ผู้เรียนสามารถอธิบายอาการแสดงออกของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งเต้านมได้ ผู้เรียนสามารถอธิบายสาเหตุและปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งเต้านมได้ ผู้เรียนสามารถอธิบายวิธีการรักษาโรคมะเร็งเต้านมได้ ผู้เรียนสามารถอธิบายขั้นตอนและแสดงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 4
พัฒนาเครื่องมือในการวัดประเมิน ออกแบบ และพัฒนา สื่อการสอน สร้างแบบทดสอบ /เกณฑ์การประเมินแบบรูบริค ตรวจสอบความสอดคล้อง (IOC) 5 ออกแบบกลวิธีการสอน การเรียนแบบผสมผสาน การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบสาธิต การสอนด้วยวิธีกรณีศึกษา 6 ออกแบบ และพัฒนา สื่อการสอน หน้าเว็บ (Web Page) สื่อการเรียนรู้ (Courseware) แบบทดสอบ และแบบสอบถาม 7
ทดลองใช้รูปแบบ การเรียน One Group Pre-test and Post-test Design ระยะเวลาทดลอง 1 สัปดาห์ เครื่องมือในการเก็บข้อมูล แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม เกณฑ์ประเมินการทำงานแบบรูบริค แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน 8 ประเมินผล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงบรรยาย ค่าเฉลี่ย และร้อยละ 9
เว็บบทเรียน
สื่อการสอนแบบมัลติมีเดีย
เต้านมเทียม
การสอนแบบบรรยาย
การสอนแบบสาธิต
การใช้กรณีศึกษา บนกระดานสนทนา
ผลการวิจัย คะแนนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
ผลการวิจัย ผลจากการประเมินด้วยเกณฑ์รูบริค
ผลการวิจัย ผลจากการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อแบบการเรียน
ผลการวิจัย ผลการรับรอง รูปแบบการเรียนฯ
Thank you for your attention
ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ ดร. ธีรวดี ถังคบุตร ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น.ท.หญิง กิตติมา สาธุวงษ์ อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ พ.ต.ท.หญิง นวลลออ ทวิชศรี ภาควิชาหลักการพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจารย์ ดร.ประพรรธน์ พละชีวะ ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฏรำไพพรรณี อาจารย์ ดร.โอภาส เกาไศยาภรณ์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและวัฒนธรรม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์