สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบหนังสือเวียน กปภ.ข. 2 และ กปภ.สาขาในสังกัด
Advertisements

ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การเข้าใช้งาน PDX เปิดโปรแกรม Internet Browsers Internet Explorer
NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
Program for sending SMS to group of mobiles via Web Service (Final) คณะผู้พัฒนา นางสาวลออศรี ใจชื่น รหัส นางสาวศิริรัตน์ บุตรดี รหัส
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ไปรษณีย์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนง่ายๆ ในการ เข้าใช้บริการ GPF Web Service สำหรับสมาชิก กบข.
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
Work From Anywhere To University
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์
การจัดการเอกสารด้วยไลบรารี 1. โครงสร้างของ Live.citcoms.nu.ac.th.
การจัดการเอกสารด้วยไลบรารี
จดหมายเวียน (Mail Merge)
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
วันที่ เมษายน 2553 ณ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การจัดการบรรณานุกรม ด้วยโปรแกรม รุจิรดา ระวีศรี
การใช้งานฐานข้อมูล Business Sources Complete
SCC : Suthida Chaichomchuen
การติดตั้งโปรแกรมเพื่อจัดการร้านค้าออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
คู่มือสร้างบล็อก blog.spu.ac.th
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
Patron Info Application
การสืบค้นข้อมูลเพื่อการวิจัย
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
ระบบเบิกจ่าย การ LOCK รายการตั้งเบิกกรณีที่มีค่าปรับ
โครงการเว็บไซต์ E-Commerce
Information Technology Project Management
ระบบจัดการห้องประชุมและสมาชิก
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
การตรวจสอบประวัติส่วนบุคคลในระบบ DPIS ทาง Intranet กรมทรัพยากรน้ำ ด้วยตนเอง
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
Geographic Information System
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
คู่มือการใช้งานโปรแกรมระบบนัดพบตลาดงานเชิงคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2557
หน่วยบริการวิชาการ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ของ คณาจารย์และนิสิต กิจกรรมหลักที่
การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์ การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
การลงทะเบียนเพื่อตรวจสอบ ข้อมูล เริ่มเข้าสู่หน้าหลักของเว็บเพจรายวิชา.
การจัดการข่าวแจ้งเตือน การบันทึกข่าวแจ้งเตือน ( ๑ ) ตัวแทนกอง, สถาบัน จะเป็นผู้บันทึกข่าว แจ้งเตือน ( ๒ ) ข้อมูลที่บันทึก จะไม่เผยแพร่ต่อสาธารณะ ในทันที
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
ขอต้อนรับเข้าสู่การนำเสนองาน
การสร้างบทความใน Joomla
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)

บทที่ 5 เทคนิคการสร้างแอพพลิเคชัน
การสร้างพจนานุกรม.
Web browser.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
ขั้นตอนการ สมัครเมลล์ * สิ่งที่ต้องจำ ห้าม ลืม 1.ID หรือชื่อผู้ใช้ 2. รหัสผ่าน 3. คำตอบที่ท่านตอบ คำถามที่เลือก.
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Dspace คืออะไร DSpace เป็นระบบที่ถูกพัฒนาโดยความร่วมมือระหว่าง HP (Hewlett Packard) และ MIT Libraries (Massachuesetts Institute of Technology Libraries) ระบบนี้สามารถที่จะจัดเก็บไฟล์ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น ตัวอักษร ภาพ วิดีโอ เสียง และข้อมูล โดยระบบจะจัดเก็บข้อมูล Metadata ระบบจัดทำดัชนีในการค้นหา (index) ผู้ใช้สามารถค้นหาและเรียกใช้ ข้อมูล ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ได้โดยใช้ Web browser ได้ทั้งแบบ อินเทอร์เน็ต และอินทราเน็ต ระบบนี้จะเป็นที่จัดเก็บข้อมูลดิจิทัลในระยะยาวได้เป็นอย่างดี เพื่อใช้ ในการจัดการบริหารข้อมูลปริมาณมากๆ ได้อย่างเป็นระบบ สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ทำความรู้จักกับระบบ

มีอะไรในห้องสมุดดิจิทัลของ ชุมชนหลัก (Community) ชุมชนย่อย (Sub community) กลุ่มข้อมูล (Collection) 1 2 3

ระบบคิดดี ประกอบด้วย ส่วนแสดงข้อมูล –ชุมชนหลัก(Community) –ชุมชนย่อย (Sub community) –กลุ่มข้อมูล (Collection) ส่วนการค้นหา ส่วนการเรียกดูข้อมูล ส่วนการเข้าสู่ระบบ สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ชุมชนในคิดดี (Community) สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การค้นหาอย่างง่ายในคิดดี สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิมพ์คำค้นที่ ต้องการลงใน กล่องข้อความ จากนั้นคลิกปุ่ม ค้นหา

แสดงผลลัพธ์ของการค้นหา สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การค้นหาอย่างละเอียด ผู้ใช้สามารถระบุเงื่อนไขของ การค้นหาได้ สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การค้นหาที่คลังข้อมูลอื่น

ผลลัพธ์ของการค้นหา สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ตัวอย่างการเรียกดูผลลัพธ์จากคลังข้อมูลอื่น

USER GROUP มีกี่ประเภท ? ผู้ดูแลระบบ System Admin ผู้ดูแลชุมชน Community Admin ผู้ดูแลชุมชนย่อย...Sub Community Admin ผู้ดูแลกลุ่มข้อมูล...Collection Admin ผู้นำเข้าข้อมูล Collection Submitter ผู้ตรวจสอบข้อมูล..Collection Auditor สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

USER เหล่านี้ ทำอะไรได้บ้าง ? สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผู้ดูแลชุมชน (Community Admin) ผู้ดูแลชุมชน คือ ผู้ที่ทำหน้าที่ –ปรับแก้ไขข้อมูล ได้แก่ ชื่อชุมชน รายละเอียด โดยสังเขป ข้อความกล่าวนำ (HTML) ข้อความลิขสิทธิ์ ข้อความในแถบด้านข้าง ใบอนุญาต แหล่งที่มา อัพโหลดโลโก้ของกลุ่มข้อมูล –สร้างและแก้ไขกลุ่มข้อมูล (Collection) –สร้างชุมชนย่อย แต่จะไม่มีสิทธิ์ในการกำหนด ผู้ดูแลชุมชนย่อย (Sub Community Admin) ผู้ดูแลกลุ่มข้อมูล (Collection Admin) และผู้ส่งผลงาน (Collection Submit) ของกลุ่มข้อมูลนั้น ต้องให้ ผู้ดูแลระบบ (System Admin) เป็น ผู้จัดการ ในกรณีที่ผู้ดูแลชุมชนย่อย สร้างชุมชนย่อยภายในชุมชนย่อยอีก จะยังไม่มี สิทธิ์ในการเพิ่มกลุ่มข้อมูล จะต้องแจ้งให้ผู้ดูแลระบบ เป็นผู้ให้สิทธิ์ดังกล่าว สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หน้าจอหลักของผู้ดูแลชุมชน (Community Admin) เครื่องมือสำหรับ ผู้ดูแลระบบ

ผู้ดูแลชุมชนย่อย (Sub Community Admin) ผู้ดูแลชุมชนย่อย คือ ผู้ที่ทำหน้าที่ดังนี้ –ปรับแก้ไขชุมชนย่อยนั้น –ได้รับสิทธิ์ในการสร้าง/แก้ไขกลุ่มข้อมูล –ได้รับสิทธิ์ในการสร้างชุมชนย่อยภายใน –แต่จะไม่มีสิทธิ์ในการกำหนด ผู้ดูแลกลุ่มข้อมูล (Collection Admin) และผู้ส่งผล งาน (Collection Submitter) ของกลุ่มข้อมูลนั้น ต้องให้ ผู้ดูแลระบบ (System Admin) เป็นผู้ดำเนินการ –ในกรณีที่ผู้ดูแลชุมชนย่อย สร้างชุมชนย่อยภายในชุมชนย่อยอีก จะยังไม่มีสิทธิ์ ในการเพิ่มกลุ่มข้อมูล จะต้องแจ้งให้ผู้ดูแลระบบ (System Admin) เป็นผู้ให้สิทธิ์ ดังกล่าว สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หน้าจอหลักของผู้ดูแลชุมชนย่อย (Sub Community Admin) เครื่องมือสำหรับ ผู้ดูแลระบบ

ผู้ดูแลกลุ่มข้อมูล (Collection Admin) ผู้ดูแลกลุ่มข้อมูล คือ ผู้ที่ทำหน้าที่ ปรับแต่ง/แก้ไขกลุ่มข้อมูล ดังนี้ –ชื่อกลุ่มข้อมูล รายละเอียด โดยสังเขป –ข้อความกล่าวนำ (HTML) –ข้อความลิขสิทธิ์ –ข้อความในแถบด้านข้าง –ใบอนุญาต –แหล่งที่มา –อัพโหลดโลโก้ของกลุ่มข้อมูล แก้ไขผู้นำเข้าข้อมูล (Collection Submitter) คือ เพิ่ม/แก้ไข/ลบ จากรายชื่อ บุคคลในระบบ (e-person) ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ ตรวจสอบความถูกต้องของผลงานที่นำเข้าระบบ สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หน้าจอหลักของผู้ดูแลกลุ่มข้อมูล (Collection Admin) เครื่องมือสำหรับ ผู้ดูแลระบบ

ผู้นำเข้าข้อมูล (Collection Submitter) ผู้นำเข้าข้อมูล คือ ผู้มีสิทธิ์ในการนำข้อมูลและสื่อดิจิทัลเข้าสู่ระบบได้ ดังนี้ –นำข้อมูลเข้าได้เฉพาะในกลุ่มข้อมูลที่ตนเองมีสิทธิ์เท่านั้น –หลังจากนำข้อมูลไปแล้วสามารถเข้ามาแก้ไขได้ –หากข้อมูลรายการนั้นได้รับการอนุมัติจากผู้ตรวจสอบข้อมูล ผู้นำเข้าข้อมูลจะไม่มี สิทธิ์เข้ามาทำการแก้ไขใด ๆ กับข้อมูลนั้นได้อีก ขั้นตอนการทำงาน มีดังนี้ 1.ตรวจดูสื่อดิจิทัล 2.กรอกข้อมูลเมทาดาทาลงบนแบบฟอร์มกระดาษตามประเภทของสื่อข้อมูลที่ ต้องการ 3.นำข้อมูลที่เขียนไว้บนแบบฟอร์มกระดาษป้อนเข้าสู่ระบบ พร้อมทั้งแนบไฟล์หรือ สื่อดิจิทัล 4.ส่งแบบฟอร์มกระดาษไปให้ผู้ตรวจสอบข้อมูล (..ทำหรือไม่ทำ ก็ได้ ) สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หน้าจอผู้นำเข้าข้อมูล สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ส่วนแสดงกลุ่มข้อมูล ที่ผู้นำเข้าข้อมูลมีสิทธิ์ป้อนข้อมูล

ผู้ตรวจสอบการนำเข้าข้อมูล (Collection Auditor) ผู้ตรวจสอบ (Collection Auditor) จะได้รับเมลแจ้งเตือนให้เข้าระบบ เพื่อทำการตรวจสอบข้อมูลเมื่อมีข้อมูลรายการนำส่งผลเข้ามาในระบบ แล้ว หากผู้ตรวจสอบพบว่ามีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ให้เลือก “ปฏิเสธ” พร้อม ทั้งพิมพ์ข้อความที่ต้องการให้ผู้นำเข้าข้อมูลแก้ไข ลงในกล่องใส่ ข้อความ จากนั้นระบบจะทำการส่งเมลเพื่อแจ้งข้อผิดพลาดดังกล่าว กลับไปยัง ผู้นำเข้าข้อมูล เพื่อดำเนินการแก้ไข และส่งผลงานเข้ามาใหม่อีกครั้ง ผู้ตรวจสอบสามารถเข้าไปแก้ไขเนื้อหาและเมทาดาทาได้เอง หากตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยแล้ว ข้อมูลจะถูกนำไปเก็บยัง แหล่งจัดเก็บถาวร และเผยแพร่บนเว็บไซต์ต่อไป สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ตัวอย่างอีเมลแจ้งเตือนให้เข้ามาตรวจสอบข้อมูล

เลือกงานที่ต้องการตรวจสอบ

การแก้ไขและการอนุมัติผลงาน

ตัวอย่างกรณีที่ผู้ตรวจสอบข้อมูลปฏิเสธการส่งผลงาน ผู้ตรวจสอบจะต้องพิมพ์ข้อความที่ต้องการให้ผู้นำเข้าข้อมูลแก้ไข

แผนภาพอธิบายการทำงาน (Work Flow)  แก้ไข  อนุมัติ  ยกเลิก  แก้ไข  อนุมัติ  ยกเลิก  ปรับ/แก้ไขรายละเอียด ของกลุ่มข้อมูล  เพิ่ม/แก้ไขผู้นำเข้าข้อมูล  นำเข้าข้อมูล  ตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูลนำเข้า  ปรับ/แก้ไขรายละเอียด ของกลุ่มข้อมูล  เพิ่ม/แก้ไขผู้นำเข้าข้อมูล  นำเข้าข้อมูล  ตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูลนำเข้า Collection Admin  เตรียมข้อมูล  ตรวจดูสื่อดิจิทัล  กรอกข้อมูลลง ฟอร์มกระดาษ  เข้าสู่ระบบ  ป้อนข้อมูลลงฟอร์ม  เตรียมข้อมูล  ตรวจดูสื่อดิจิทัล  กรอกข้อมูลลง ฟอร์มกระดาษ  เข้าสู่ระบบ  ป้อนข้อมูลลงฟอร์ม Collection Submitter คลังข้อมูล Database สื่อดิจิทัล  แสดงข้อมูล  สืบค้นข้อมูล  User Login  แสดงข้อมูล  สืบค้นข้อมูล  User Login CollectionAuditor Viewers สื่อดิจิทัล สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ