สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
กลุ่มที่ 1 Blueprint for Change.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
ดร.อุดมพร ธีระวิริยะกุล และทีมงานคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2 พญ.พรสวรรค์ มีชิน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์

วันที่ 1 - 2 กันยายน 2557 ณ โรงแรมอมรินทร์ ลากูน จังหวัดพิษณุโลก การอบรมเชิงปฏิบัติการ "โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอด้วยการมองภาพอนาคต (Future Search Conference: F.S.C) วันที่ 1 - 2 กันยายน 2557 ณ โรงแรมอมรินทร์ ลากูน จังหวัดพิษณุโลก

เขตบริการสุขภาพที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการ 24 DHS : 14 อำเภอใน 5 จังหวัด อุตรดิตถ์ อ.ตรอน อ.น้ำปาด อ.ฟากท่า อ.บ้านโคก เพชรบูรณ์ อ.หล่มสัก อ.เขาค้อ ตาก อ.วังเจ้า พิษณุโลก อ.พรหมพิราม อ.บางกระทุ่ม อ.วังทอง อ.วัดโบสถ์ สุโขทัย อ.กงไกรลาส อ.สวรรคโลก อ.คีรีมาศ

ประเด็นในการถอดบทเรียน สภาพการทำงานและปัญหาในพื้นที่ กับ ข้อเสนอแนะ เป้าหมายการทำงานในอนาคตที่จะขับเคลื่อน ระบบสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สรุปการถอดบทเรียนสภาพการทำงานและปัญหากับข้อเสนอแนะของพื้นที่เขต 2 1.ประเด็นเครือข่าย : 1.1ผู้บริหาร สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ การเปลี่ยนแปลงผู้บริหารส่งผลต่อการดาเนินงานด้านสาธารณสุข ผู้นาในส่วนท้องถิ่น (อปท และ อบต) ยังเน้นและให้ความสำคัญกับงานด้านสาธารณสุขค่อนข้างน้อย การสร้างผู้นาในองค์กรและชุมชน ผู้นาหรือผู้บริหารควรมีวิสัยทัศน์ มีเครือข่ายเข้มแข็งและศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายการทางานในระบบสุขภาพ การประสานภาคีเครือข่าย กับผู้บริหารที่มีอำนาจในการสั่งการได้ เช่น นายอำเภอ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลที่เกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วนเข้ามามีบทบาทในการที่จะร่วมแก้ไขปัญหา เน้น บทบาทของนายอำเภอ เป็นผู้เชื่อมประสาน

สรุปการถอดบทเรียนสภาพการทำงานและปัญหากับข้อเสนอแนะของพื้นที่เขต 2 1.ประเด็นเครือข่าย : 1.2นโยบายของรัฐ สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ นโยบายของรัฐ (ประชานิยม) ในด้านดีส่งผลให้ประชาชนเข้าถึงการบริการของรัฐได้ แต่ขณะเดียวกันทาให้ประชาชนไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการดูแลตัวเองด้านสุขภาพ นโยบายทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่นมีมาก ทำให้เกิดปัญหาเรื่องการดูแล

สรุปการถอดบทเรียนสภาพการทำงานและปัญหากับข้อเสนอแนะของพื้นที่เขต 2 1.ประเด็นเครือข่าย : 1.3การบูรณาการและประสานงาน สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานและรูปแบบการบูรณาการขาดความชัดเจน โดยเฉพาะการบูรณาการเรื่องการวางแผนงานและงบประมาณร่วมกัน ระหว่างส่วนของกระทรวงสาธารณสุขและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ขาดการประสานงานกับเมืองในพื้นที่ชายแดน (ลาว) กรณีอำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ให้ความสำคัญกับการจัดเวทีแลกเปลี่ยนและสร้างเครือข่ายการทางาน สร้างกลไกในการทางานที่มีประสิทธิภาพและทางานได้จริง เน้นการสร้างทีมทางาน เช่น คณะกรรมการที่ดึงภาคประชาชนเข้าร่วม การสื่อสารแบบ informal เช่น การใช้ social media มากขึ้น ซึ่งสะดวกกับการเข้าถึงข้อมูลและลดขั้นตอนในการประสานงานแบบทางการลง

สรุปการถอดบทเรียนสภาพการทำงานและปัญหากับข้อเสนอแนะของพื้นที่เขต 2 1.ประเด็นเครือข่าย : 1.4ระบบฐานข้อมูล สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ การจัดระบบฐานข้อมูลที่ขาดการเชื่อมโยง ความถูกต้องครบถ้วนของข่าวสาร สร้างระบบฐานข้อมูลด้านสุขภาพให้ครบถ้วน เชื่อมโยงฐานข้อมูลให้สอดคล้องกับเครือข่าย พัฒนาข้อมูลสุขภาพระดับอำเภอ และให้ความสำคัญกับการคืนข้อมูลสู่ชุมชน โดยต้องมีช่องทางให้แสดงความคิดเห็นต่อระบบสุขภาพจากภาคประชาชนได้ด้วย เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม

สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2.ประเด็นการบริหารจัดการ : 2.1โครงสร้างการบริหารงาน(งานและบุคลากร) สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ การแก้ปัญหาของสาธารณสุขกับท้องถิ่นยังมีความแตกต่างกัน นโยบายที่มอบหมายงานมา อาจจะไม่สอดคล้องกับโครงสร้างเดิมที่วางไว้อยู่ ทาให้ไม่สามารถตอบสนองต่อการแก้ปัญหาด้านสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขกับ อปท. ต้องมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน จัดอบรมและจัดเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการเน้นกลยุทธ์การจัดการความรู้ (KM –Knowledge Management) และการอบรมให้ความรู้และพัฒนาทักษะแก่ บุคลากรเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนางาน

สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2.ประเด็นการบริหารจัดการ : 2.2ระบบริการสุขภาพ สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ ยังมองระบบสุขภาพเป็นแบบแยกส่วน คือ ระบบสุขภาพเป็นของอำเภอ แต่ทรัพยากรส่วนใหญ่ เช่น คน เงิน อุปกรณ์สิ่งของเป็นสมบัติของโรงพยาบาล/อปท ส่งผลต่อการบริหารงานในเชิงบูรณาการกับหน่วยงานการปกครองท้องถิ่น (อปท) ระหว่างงานกับคน และฐานของข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการในเชิงระบบและโครงสร้าง เพื่อให้ระบบบริการสุขภาพเป็นภาพของระดับอำเภอ

3.ประเด็นการมีส่วนร่วม: 3.1การมีส่วนร่วมในระบบบริการสุขภาพของรัฐ สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ ส่วนกลางเป็นคนกำหนดนโยบาย ทาให้ขาดการมีส่วนร่วม โดยเฉพาะจากชุมชน เข้ามาร่วมจัดการระบบสุขภาพ และมีมุมมองว่า เรื่อง สุขภาพเป็นของสาธารณสุข

3.ประเด็นการมีส่วนร่วม: 3.2การมีส่วนร่วมในระบบบริการสุขภาพระดับชุมชน สภาพการทำงาน/ปัญหา ข้อเสนอแนะ บริการสุขภาพไม่สอดคล้องกับความเชื่อของคนในพื้นที่ (ลาว-บ้านโคก อุตรดิตถ์) ชุมชนยังไม่ตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปัญหาส่วนหนึ่งมาจากปัญหาเรื่องการทากิน ทาให้ประชาชนละเลยเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง การจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับบริบทในแต่ละพื้นที ส่งเสริมการพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและท้องถิ่นให้มีความยั่งยืนและต่อเนื่อง ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (แพทย์แผนไทย) เข้ามาร่วมจัดการในระบบสุขภาพ

สรุปและถอดบทเรียน แผนงานหรือเป้าหมายในอนาคต แนวทางการปฏิบัติสู่เป้าหมาย คำสำคัญที่ร่วมกัน วิสัยทัศน์ของแต่ละอำเภอ

วิสัยทัศน์ของแต่ละอำเภอ อำเภอที่มีระบบสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ โดยความ ร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอพรหมพิราม ปี ๒๕๕๙ ประชาชนมีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม ภาคีเครือข่ายสุขภาพเข้มแข็ง ประชาชนมีสุขภาวะ อำเภอวัดโบสถ์ปลอดภัย คนมีสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง หล่มสักเมืองน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งเรียนรู้สุขภาวะ เป็นอำเภอสร้างเสริมสุขภาพที่เข้มแข็ง

วิสัยทัศน์ของแต่ละอำเภอ(ต่อ) เป็นองค์กรของชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่าย เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเอง “ตรอน” เมืองสุขภาวะ ชุมชนเข้มแข็ง จัดการสุขภาวะ แบบพึ่งตนเอง ในปี 2560 เราจะเป็นเครือข่ายบริการสุขภาพที่ใกล้บ้าน ใกล้ใจของ ประชาชน เครือข่ายบริการสุขภาพที่มีคุณภาพภาคีมีส่วนร่วม

คำสำคัญที่ร่วมกัน ภาคีเครือข่ายสุขภาพเข้มแข็ง ประชาชนมีสุขภาวะ ชุมชนเข้มแข็ง การมีส่วนร่วม

แนวทางการปฏิบัติสู่เป้าหมาย การพัฒนาเครือข่ายให้เข้มแข็ง และเป็นหนึ่งเดียวกัน การพัฒนาระบบสุขภาพเป็นระบบเดียว ด้วยการกำหนด นโยบายและวางแผนทั้งระยะยาวและระยะสั้นเพียงแผนเดียว ทั้งอำเภอ และมีระบบการประเมินผลที่ชัดเจน

แนวทางการปฏิบัติสู่เป้าหมาย จัดทำแผนพัฒนาโครงสร้างการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยเน้นการมีส่วนรวมของชุมชนและภาคีเครือข่ายตามสาย การบังคับบัญชา มีการจัดตั้งคณะกรรมการทำงาน และคณะกรรมการระดับ อำเภอ ที่มี “นายอำเภอ” เป็นประธานในฐานะผู้ประสานงาน กลางระหว่างหน่วยงาน ต่าง ๆ ในท้องถิ่น และใน คณะกรรมการควรมีตัวแทนจากภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

แนวทางการปฏิบัติสู่เป้าหมาย จัดตั้งศูนย์ประสานงานกลาง เพื่อสนับสนุนการจัดสรรและใช้ ทรัพยากรร่วมกัน จัดตั้ง Data Center เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านสุขภาพ ให้เป็นระบบเดียวกันทั้งอำเภอ เพื่อสามารถเชื่อมโยงข้อมูล และควรมีระบบการคืนข้อมูลสู่ชุมชน และเปิดช่องทางให้ ประชาชนเข้าสู่ระบบบริการ ด้วยการเปิดรับฟังความคิดเห็น จากประชาชน เพื่อปรับปรุง พัฒนาระบบสุขภาพให้ดีขึ้น และ ให้เกิดการเรียนรู้ที่จะบริหารและใช้ทรัพยากรร่วมกัน

แนวทางการปฏิบัติสู่เป้าหมาย ส่งเสริมงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ รวมถึง ส่งเสริมให้ประชาชนเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม สุขภาพ เช่น การมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างแพทย์แผน พื้นบ้านกับแพทย์แผนปัจจุบัน

Be Happiness