ปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจ และแนวโน้มในอนาคต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
การบริหารกลุ่มและทีม
ระบบการบริหารการตลาด
เศรษฐกิจพอเพียง.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
สรุปการประชุมระดมความคิด
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจ และแนวโน้มในอนาคต ปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจ และแนวโน้มในอนาคต

กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก  โลกเปลี่ยนจากสังคมปัจเจกชน (สมาชิกแต่ละคนจะพึ่งตนเอง กระจัดกระจายอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ ห่างไกลกัน ต้องทำทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อตนเอง) สังคมชุมชนการพัฒนา  โลกเปลี่ยนจากระบบกรรมสิทธิ์ถือครอง ระบบสิทธิสมาชิกภาพ  โลกเปลี่ยนจากการสนองความต้องการของบุคคล สู่ การสนองความต้องการของมวลชน

กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก (ต่อ)  โลกเปลี่ยนจากนโยบายของรัฐแบบเฉพาะกิจ นโยบาย แบบสาธารณะ  โลกเปลี่ยนจากสิ่งแวดล้อมที่สะอาด สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โลกเปลี่ยนจากวิทยาการแบบเชี่ยวชาญเฉพาะ วิทยาการ เชิงประโยชน์สูงสุดอันศักดิ์สิทธิ์  โลกเปลี่ยนจากจริยธรรมเชิงนามธรรม จริยธรรม เชิงปฏิบัติการ

ที่มาของปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจ ผลประโยชน์ส่วนตัวและความเห็นแก่ตัว การกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งกำไร จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนตัว ความขัดแย้งต่างวัฒนธรรม

ประเภทของปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจ  จริยธรรมของความสัมพันธ์แบบส่วนตัว  จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของบริษัท  จริยธรรมที่เกี่ยวกับกิจกรรมหรือหน้าที่ต่าง ๆ ของบริษัท  จริยธรรมด้านบัญชี  จริยธรรมด้านการตลาด  จริยธรรมด้านการเงิน  จริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  จริยธรรมในด้านอื่น ๆ ในส่วนอื่น ๆ ของบริษัท

ระดับของปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจ  ระดับบุคคล  ระดับองค์การหรือบริษัท  ระดับสมาคม  ระดับสังคม  ระดับประเทศ

ปัญหาจริยธรรมของธุรกิจในประเทศไทย  การมุ่งเน้นพัฒนาภาคอุตสาหกรรม  การพัฒนาอุตสาหกรรมที่มุ่งซื้อเครื่องจักร เทคโนโลยี และวัตถุดิบมาจากต่างประเทศ  การให้รายได้ที่ต่ำ และการโยกย้ายถิ่นฐานเข้ามาทำงาน  การลงทุนอุตสาหกรรมด้านการผลิตที่เน้นเครื่องจักรและ เทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยที่ไม่มีความรู้และความเข้าใจ มาก่อน

สรุปปัญหาจริยธรรมของธุรกิจในประเทศไทย  จริยธรรมที่มีต่อเศรษฐกิจ  จริยธรรมต่อแรงงาน  จริยธรรมที่มีต่อสิ่งแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงสำหรับอนาคตของจริยธรรมทางธุรกิจ  วิกฤตความเชื่อมั่นของสาธารณชน  การเน้นคุณภาพชีวิตการทำงาน  การลงโทษต่อพฤติกรรมที่ผิดจรรยาบรรณ  บทบาทของสื่อและสาธารณชน  การเปลี่ยนแปลงรูปแบบและจรรยาบรรณของบริษัท  เป้าหมายของการร่วมกันเพื่อการปฏิรูป

ข้อเสนอแนะเพื่อลดพฤติกรรม ขาดจริยธรรมในองค์การ  รับคนที่มีจริยธรรมเข้าทำงาน  กำหนดนโยบายองค์การ รวมทั้งกฎระเบียบต่าง ๆ ในการปฏิบัติ  ผู้บริหารต้องเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ  กำหนดเป้าหมายการทำงานและประเมินผลด้านจริยธรรม  มีการอบรมด้านจริยธรรม  ตรวจสอบการทำงานของหน่วยงานต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง  มีกลไกต่าง ๆ เช่น จัดให้มีที่ปรึกษาทางด้านจริยธรรม

กรณีศึกษาปัญหาจริยธรรม 1 กรณีผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ถูกภรรยาของนายอูริก วูล์ฟกัง นักธุรกิจชาวเยอรมันกล่าวหาว่ารับเงิน จำนวน 400,000 บาท เพื่อช่วยเหลือเรื่องการนำเรือยอชต์เข้าประเทศ จากการสอบสวนเป็นการภายในของ นสพ. พบว่า ผู้สื่อข่าวได้รับเงินจริง แต่อ้างว่าเป็นค่าทนายความที่เซ็นรับแทนเพื่อนที่เป็นทนายความคดีเรือยอชต์หนีภาษีของนายอูริก วูล์ฟกัง หนังสือพิมพ์เห็นว่าพฤติกรรมดังกล่าวเป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสม และต่อมาผู้สื่อข่าวคนดังกล่าวตัดสินใจลาออก ดังนั้น คณะกรรมการสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติจึงมีมติรับทราบ

กรณีศึกษาปัญหาจริยธรรม 2 กรณีแจกไวน์ในงานเลี้ยง โดยมีใบปลิวแจกไปตามที่ต่าง ๆ ระบุว่า ทีมงานส่วนหนึ่งของหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่นไปงานเลี้ยงที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคไทยรักไทย จัดเลี้ยงให้ที่โรงแรมดุสิตธานี และหลังงานเลี้ยงมีการแจกไวน์ขวดละ 20,000 บาท ซึ่งนายกวี จงกิจถาวร บรรณาธิการหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่นยอมรับว่ามีเรื่องนี้เกิดขึ้นจริง และหลังงานเลี้ยงมีการแจกไวน์ แต่เป็นขวดละ 5,800 บาท และได้สั่งให้นำไวน์ไปคืนทุกขวด

กรณีศึกษาปัญหาจริยธรรม 3 สุดา เป็นผู้จัดการฝ่ายขายของบริษัท ขายดี จำกัด ซึ่งขายผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับโรงพยาบาล สุดา ขายสินค้าให้โรงพยาบาลแห่งหนึ่งมูลค่าสิบล้านบาทโดยบันทึกแจ้งว่า ทางโรงพยาบาลขอบริจาคเงินจากบริษัทห้าแสนบาท แล้วทำการเบิกเงินห้าแสนบาท โดยออกเป็นเช็คเงินสด และสุดาเซ็นรับไปจากฝ่ายการเงิน โดยแจ้งว่าจะนำไปบริจาคให้โรงพยาบาล เมื่อมีการซื้อขายเสร็จแล้ว สุดาเขียนรายงานบันทึกไว้ว่าได้มอบเงินให้โรงพยาบาลแล้ว ตามข้อเท็จจริงโรงพยาบาลไม่ได้ขอบริจาคแต่อย่างใด แต่สุดานำเอาเช็คไปขึ้นเงินสดแล้วเข้ากระเป๋าตัวเอง กรณีนี้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต สุดาประพฤติผิดจริยธรรม มีความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรงถึงขั้นไล่ออกจากงานได้