การใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจและทัศนคติของนักเรียนต่อวิชาการเขียนโปรแกรม ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน ผศ.ดร.ปราวีณยาสุวรรณณัฐโชติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
รายงานการวิจัย.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Introduction : Principle of Programming
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
รายงานผลการวิจัย.
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจและทัศนคติของนักเรียนต่อวิชาการเขียนโปรแกรม ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน ผศ.ดร.ปราวีณยาสุวรรณณัฐโชติ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความเป็นมาและความสำคัญ การสอนเขียนโปรแกรมในระดับมัธยมศึกษาขาดความน่าสนใจ วิธีสอนที่เน้นเนื้อหาของภาษาคอมพิวเตอร์ โจทย์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเป็นเชิงตรรกะทางคณิตศาสตร์เป็นหลัก รูปแบบการเขียนโปรแกรมแบบ Console นักเรียนไม่เห็นประโยชน์และความสำคัญในการนำหลักการเขียนโปรแกรมไปใช้ในการพัฒนางานต่างๆ ขาดการแสดงออกทางความคิดสร้างสรรค์เนื่องจากข้อจำกัดของเวลาในการเรียนทำให้ไม่สามารถสอนแนวทางการทำงานที่ซับซ้อนได้

http://scratch.mit.edu/

หน้าต่างการทำงานของโปรแกรม

กิจกรรมการเรียนการสอนด้วย Scratch ขั้นตอนที่ 1 แนะนำและทำความรู้จักกับโปรแกรม ขั้นตอนที่ 2 เรียนรู้การใช้ตัวแปรเพื่อควบคุมการทำงานต่างๆ ขั้นตอนที่ 3 ประยุกต์หลักการเขียนโปรแกรมแบบเงื่อนไขในการสร้างงานแอนิเมชัน ขั้นตอนที่ 4 ประยุกต์หลักการเขียนโปรแกรมแบบทำซ้ำในการสร้างงานแอนิเมชัน ขั้นตอนที่ 5 แนะนำเทคนิคการบูรณาการคำสั่งต่างๆ ในการพัฒนาผลงาน ขั้นตอนที่ 6 ทดสอบประมวลผลความรู้ ขั้นตอนที่ 7 พัฒนาชิ้นงานอิสระ

ตัวอย่างกิจกรรมในขั้นตอนที่ 1 แนะนำโปรแกรม Input Process output Memory

ตัวอย่างกิจกรรมการใช้ตัวแปรเพื่อควบคุมการทำงาน

ตัวอย่างการใช้ตัวแปรเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ Sprite 1 Sprite 2

ตัวอย่างการประยุกต์หลักการเขียนโปรแกรมแบบเงื่อนไข Start Input number number mod 2 = 0? yes no Print “Even number” Print “Odd number” End

ตัวอย่างการประยุกต์หลักการเขียนโปรแกรมแบบทำซ้ำ Start c = 0 Input jump yes n > jump no change y axis “object1” 50 p wait 0.25 secs n = n + 1 End change y axis “object1” -50 p wait 0.25 secs

กิจกรรมการเรียนการสอนด้วย Scratch ขั้นตอนที่ 5 แนะนำเทคนิคการบูรณาการคำสั่งต่างๆ ในการพัฒนาผลงาน นำคำสั่งต่างๆ ที่ได้เรียนมาผสมผสานกันเพื่อสร้างงานที่มีความซับซ้อนยิ่งขึ้น ขั้นตอนที่ 6 ทดสอบประมวลผลความรู้ สร้างผลงานจากโจทย์ที่กำหนดให้เพื่อประเมินทักษะการคิด จุดเน้น ต้องเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมที่ชัดเจน เพื่อป้องกันเรื่องความเหลื่อมล้ำของโจทย์ที่แตกต่างกัน ขั้นตอนที่ 7 พัฒนาชิ้นงานอิสระ สร้างผลงานตามอิสระ โดยอาจมีการกำหนดหัวเรื่องหรือ Theme ให้เป็นแนวทาง จุดเน้น ต้องแจ้งเกณฑ์การประเมินให้ผู้เรียนทราบก่อนพัฒนาผลงาน เพื่อเป็น กรอบให้ผู้เรียนออกแบบงานได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของผู้สอน

ผลสะท้อนจากนักเรียน (แผนศิลปศาสตร์ 200 คน) อัตราการส่งงานในชั้นเรียน ร้อยละ 72 มากกว่าแผนวิทยาศาสตร์ในภาคการศึกษาต้นซึ่งมีอัตราการส่งงานที่ ร้อยละ 65 มีการทดลองใช้คำสั่งอื่นๆ นอกเหนือจากที่สอนหลังจากทำงานที่ได้รับมอบหมายในชั้นเรียนเสร็จสิ้น ร้อยละ 60 สามารถแปลงคำสั่งต่างๆ ในผังงานเป็นคำสั่งการเขียนโปรแกรมได้เป็นอย่างดี รวมทั้งมีการเพิ่มเติมการทำงานที่นอกเหนือจากตัวอย่างในการเรียน ร้อยละ 20 ยังต้องการคำแนะนำในการเขียนโปรแกรม และสร้างผลงานแบบเดียวกับตัวอย่างในการเรียนที่ผ่านมา

ผลสะท้อนจากนักเรียน ร้อยละ 73 คิดว่าเป็นโปรแกรมที่น่าสนใจในการทำงานแอนิเมชัน แล้วจะนำไปใช้ต่อในอนาคต ร้อยละ 64.5 มีความคิดเห็นว่าตอนที่ใช้ครั้งแรกคิดว่าเป็นโปรแกรมง่ายๆ สำหรับเด็ก แต่พอได้ลองใช้แล้วเป็นโปรแกรมที่มีความซับซ้อนกว่าที่คิด ร้อยละ 61 มีความคิดเห็นว่าโปรแกรมที่เรียนแล้วสนุก สามารถสร้างสรรค์งานได้หลากหลายโดยไม่ยาก

ผลสะท้อนจากนักเรียน ร้อยละ 26.5 สนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมมากว่านี้เพื่อนำไปใช้พัฒนางานที่ซับซ้อนต่อไป ร้อยละ 12 เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการเขียนโปรแกรมว่าสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานอื่นๆ ได้นอกเหนือจากการพัฒนาโปรแกรมทางคณิตศาสตร์เพียงอย่างเดียว ร้อยละ 9.5 เคยมีความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์มาก่อน พอมาใช้โปรแกรมรู้สึกว่าสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่ามาก

ดูตัวอย่างการสร้างชิ้นงานต่างๆ เพิ่มเติมได้ที่ http://scratch.mit.edu/explore/

เอกสารของ สสวท. http://oho.ipst.ac.th/downloadfiles/ category/47-scratch-creative-thinking