การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การประชุมชี้แจงและกำหนด KPIs ระดับภาควิชา/หน่วยงานจัดการเรียนการสอน
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวข้องกับนิสิตอย่างไร
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
กิจการนิสิต (Student Affairs)
วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ คุณภาพชมรมนักศึกษา / ชมรมบัณฑิต มสธ.
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ชื่อตัวบ่งชี้ 1.3 : เงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต ( ปริญญาตรี ) 1. จุดอ่อน 1. คณะฯยังไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเงินเดือนของ บัณฑิต 2. คณะฯยังขาดหลักคิดที่สมบูรณ์ในการเทียบ.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การนำระบบPDCAการประกันคุณภาพ การศึกษาไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมของนิสิต
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
ระบบการประกันคุณภาพภายใน หมายถึง
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
งานกิจการนิสิต
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้

การประกันคุณภาพ การมีระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบและประเมิน การดำเนินงานในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพตามดัชนีบ่งชี้ที่กำหนด เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชน ให้มั่นใจว่าสถาบันนั้นๆ สามารถให้ผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ

ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการของนักศึกษา (องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต) ระบบและกลไกพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต บัณฑิต ป.ตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 3 ปี คุณภาพของบัณฑิต (ตรี โท เอก) ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ (TQF) ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการของนักศึกษา (องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา) มีการจัดบริการให้คำปรึกษาทางวิชาการ และแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษา คณะฯ จัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติทุกด้าน มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้วน และสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์

ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการของนักศึกษา (องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา) กิจกรรมที่ต้องดำเนินการโดยนักศึกษาสำหรับปริญญาตรีมี 5 ประเภท 1. กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ 2. กีฬา หรือส่งเสริมสุขภาพ 3. บำเพ็ญประโยชน์ หรือรักษาสิ่งแวดล้อม 4. เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม 5. ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการของนักศึกษา (องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม) มีระบบและกลไกในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม ต่อจำนวนนักศึกษา ร้อยละเฉลี่ยของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษาทั้งหมด

ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการของนักศึกษา (องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ) มีระบบและกลไกการให้ความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพแก่นักศึกษา โดยจะต้องมีผลงานผ่าน 9 ระดับดังนี้ 1. มีระบบการให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะและส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ 2. มีระบบส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้กับกิจกรรมนักศึกษา มีการจัดระบบให้ทุกกิจกรรมมีการประกันคุณภาพ โดยส่งเสริมโครงการ กิจกรรม ให้มีวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ และให้มีการวัดและประเมินผล

ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการของนักศึกษา (องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ) 3. มีกลไกให้มีส่วนร่วมใน QA ของคณะฯ ตามตัวบ่งชี้ สกอ. ฝึกให้ตัวแทนสโมสร จัดทำรายงานการประเมินตนเอง จัดให้มีตัวแทนนักศึกษาเป็นกรรมการสมทบสำหรับการประเมินคุณภาพภายใน = การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. นักศึกษาใช้กระบวนการคุณภาพในการพัฒนาทุกกิจกรรม เช่น 5ส. PDCA เป็นต้น 5. นักศึกษาสร้างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพภายใน และภายนอกสถาบัน

ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับกิจการของนักศึกษา (องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ) 6. มีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพทุกกิจกรรมที่ดำเนินการ มีการประเมินคุณภาพภายในระดับสโมสร และชมรมนักศึกษาของ คณะฯโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพที่แต่งตั้งโดยคณะฯ 7. มีการนำผลการประเมินไปพัฒนา

กระบวนการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของหลักการ PDCA 1. การร่วมกันวางแผน (Planning) 2. การร่วมกันปฏิบัติตามแผน (Doing) 3. การร่วมกันตรวจสอบ (Checking) 4. การร่วมกันปรับปรุง (Action)

ให้นักศึกษาคิดแผนกิจกรรมนักศึกษาในปีการศึกษา 2555 ให้นักศึกษานำความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมที่ดำเนินการโดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภทสำหรับระดับปริญญาตรี จากกิจกรรมต่อไปนี้ -กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ - กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม - กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม - กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

ให้นักศึกษาคิดแผนกิจกรรมนักศึกษาในปีการศึกษา 2555 กิจกรรมสถานศึกษา 3D ได้แก่