บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและส่วนประกอบภาษา HTML
Advertisements

การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
การใส่หมายเลขหน้าข้อความ ปรับแต่งเอกสารด้วยการใส่ หมายเลขหน้าข้อความ
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
เรียนรู้และเข้าใจ HTML อย่างง่าย
for Beginning & Publishing
Chapter 2 : Character and Fonts
Microsoft Word 2002 พุธทอง กาบบัวลอย.
การประยุกต์ใช้โปรแกรม MS-Excel
Script Programming& Internet Programming
การสร้างเอกสารเว็บเพจด้วยภาษา HTML
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
การโต้ตอบแบบ Target Area
PHP LANGUAGE.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
Microsoft Word Part II Government Savings Bank Computer Training Í
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
แนะนำให้รู้จักกับ CSS (Cascading Style Sheets)
การสร้างเอกสารเว็บเพจ
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
การตกแต่งเอกสาร การเลือกรูปแบบและขนาดของตัวอักษร
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การจัดวางตำแหน่งข้อมูลไว้กึ่งกลาง
การสร้างตาราง (Table)
การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
การใช้งาน Microsoft Excel
แก้ไขปรับปรุง Form.
– Web Programming and Web Database
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างเว็บด้วย HTML HyperText Markup Language
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
แสดงโปรแกรมในการทำงาน
การสร้างเอกสารเว็บเพจด้วยภาษา HTML
HTML.
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
การพิมพ์การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์
การจัดเอกสาร และการตกแต่งเอกสาร
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การกำหนดลักษณะตัวอักษร
การสร้างตาราง ง40205 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
การกำหนด ลักษณะตาราง ง การเขียน เว็บไซต์สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
คำสั่งภาษา HTML เบื้องต้น
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร. โครงสร้างภาษา HTML หัวข้อเรื่อง เว็บไซต์
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
การใช้โปรแกรม Microsoft Word 2007
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
หน่วยที่ 12 Style Sheet and Layers
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
Output of C.
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
Low Level GUI อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.
และการทำงานกับตัวอักษร
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การจัดรูปแบบเอกสาร Microsoft Word 2007.
การกำหนดสัญลักษณ์และเลขลำดับ
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
16. การเขียนรายงานการวิจัย
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร

กำหนดหัวเรื่อง (Heading Tag) ใช้สำหรับกำหนดขนาดให้กับข้อความที่มีการตั้งไว้เป็นหัวข้อเรื่อง รูปแบบการใช้คำสั่ง <Hn>ข้อความที่ต้องการ</Hn> * n คือ ค่าของตัวเลขที่ใช้สำหรับกำหนดขนาดของหัวเรื่อง มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 6 โดยเลข 1 จะเป็นหัวเรื่องที่ใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุด

ผลลัพธ์

การจัดข้อความกึ่งกลางหน้า การจัดตำแหน่งข้อความ การจัดข้อความกึ่งกลางหน้า รูปแบบการใช้คำสั่ง <CENTER>ข้อความที่ต้องการ</CENTER>

ขึ้นบรรทัดใหม่ (Line Break) การจัดตำแหน่งข้อความ ขึ้นบรรทัดใหม่ (Line Break) รูปแบบการใช้คำสั่ง <BR>ข้อความที่ต้องการ หรือ ข้อความที่ต้องการ <BR> ข้อความที่อยู่หลังคำสั่ง <br> จะถูกนำไปขึ้นบรรทัดใหม่

จัดวางย่อหน้าข้อความ (Paragraph Break) รูปแบบการใช้คำสั่ง <p>ข้อความ…………………. ………………............... ……………………</p>

จัดวางย่อหน้าข้อความ (Paragraph Break) คำสั่งที่ใช้เมื่อต้องการจัดวางตำแหน่งข้อความชิดขอบด้านใดด้านหนึ่ง รูปแบบการใช้คำสั่ง <p align=“ตำแหน่ง”>…..ข้อความ…..</p> ตำแหน่งการจัดวางข้อความ คือ LEFT = จัดว่าข้อความชิดซ้าย (ค่าปกติ) CENTER = จัดข้อความกึ่งกลางบรรทัด RIGHT = จัดข้อความชิดขวาของบรรทัด

คำสั่งแสดงข้อความเหมือนพิมพ์ รูปแบบการใช้คำสั่ง <PRE> ….. ข้อความ ….. </PRE>

การแยกส่วนของข้อความ (BLOCKQUOTE) รูปแบบการใช้คำสั่ง < BLOCKQUOTE > ข้อความ ………………………….. </ BLOCKQUOTE >

คำสั่งตีเส้นคั่น (Horizontal Line) รูปแบบการใช้คำสั่ง < HR >

คำสั่งตีเส้นคั่น (Horizontal Line) คำสั่งเพิ่มเติม size เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดความหนาให้กับเส้น รูปแบบการใช้คำสั่ง <hr size=n> * n คือ ความหนาของเส้น โดยการใส่ค่าตัวเลข (หน่วยเป็นพิกเซล)

คำสั่งตีเส้นคั่น (Horizontal Line) คำสั่งเพิ่มเติม width เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดความยาวให้กับเส้น รูปแบบการใช้คำสั่ง <hr width=n> * n คือ ความยาวของเส้น โดยการใส่ค่าตัวเลข (หน่วยเป็นพิกเซล) หรือ ระบุเป็นตัวเลข% ก็ได้ หากไม่ระบุจะเป็นการตีเต็มหน้าจอภาพ

คำสั่งตีเส้นคั่น (Horizontal Line) คำสั่งเพิ่มเติม align เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดตำแหน่งการของเส้น รูปแบบการใช้คำสั่ง <hr align=n> *n คือ ตำแหน่งการวางเส้น ว่าต้องการให้อยู่ตรงจุดใดของจอภาพ โดยพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้แทนตัว n left = กำหนดให้เส้นอยู่ชิดซ้าย right = กำหนดให้เส้นอยู่ชิดขวา center = กำหนดให้เส้นอยู่กึ่งกลางจอภาพ

คำสั่งตีเส้นคั่น (Horizontal Line) คำสั่งเพิ่มเติม color เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดสีของเส้น รูปแบบการใช้คำสั่ง <hr color=n> *n คือ สีเส้น เช่น red Yellow Blue Green

คำสั่งตีเส้นคั่น (Horizontal Line) คำสั่งเพิ่มเติม noshade เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดเส้นทึบไม่มีการแรเงาของเส้น รูปแบบการใช้คำสั่ง <hr noshade>

การกำหนดลักษณะตัวอักษร การกำหนดให้ตัวอักษรมีความหนา (Bold) รูปแบบการใช้คำสั่ง <b>ข้อความ</b>

การกำหนดลักษณะตัวอักษร กำหนดให้ตัวอักษรมีความเอียง (Italic) รูปแบบการใช้คำสั่ง <i>ข้อความ</i>

การกำหนดลักษณะตัวอักษร กำหนดขีดเส้นทับกลางตัวอักษร รูปแบบการใช้คำสั่ง <S>ข้อความ</S>

การกำหนดลักษณะตัวอักษร กำหนดตัวอักษรยกขึ้น รูปแบบการใช้คำสั่ง <SUP>ข้อความ</SUP>

การกำหนดลักษณะตัวอักษร กำหนดตัวอักษรห้อย รูปแบบการใช้คำสั่ง <SUB>ข้อความ</SUB>

การกำหนดลักษณะตัวอักษร กำหนดตัวอักษรตัวใหญ่ รูปแบบการใช้คำสั่ง <BIG>ข้อความ</BIG>

การกำหนดลักษณะตัวอักษร กำหนดตัวอักษรตัวเล็ก รูปแบบการใช้คำสั่ง <SMALL>ข้อความ</SMALL>

กำหนดให้ตัวอักษรวิ่ง เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับกำหนดให้ตัวอักษรวิ่ง ทำให้ตัวอักษรมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น รูปแบบการใช้คำสั่ง <marquee>.ข้อความ</marquee>

<marquee behavior=n> ข้อความ.</marquee> รูปแบบการใช้คำสั่ง <marquee behavior=n> ข้อความ.</marquee> - alternate คือ ให้ข้อความวิ่งจากขอบซ้ายมาขอบขวา เมื่อถึงขอบขวาก็ให้วิ่งกลับไปทางซ้าย วิ่งกลับไปกลับมา - scroll คือ ให้ข้อความวิ่งจากขวามาซ้าย เมื่อถึงขอบซ้าย ก็ให้ข้อความวิ่งออกมาจากขวาใหม่ (เป็นค่าปกติถ้าไม่มีการกำหนดอะไรจะได้แบบนี้) - slide คือ ให้ข้อความวิ่งจากขวามาซ้าย เมื่อถึงขอบซ้ายแล้วจะหยุดนิ่งไม่วิ่งไปไหนอีก

<marquee direction=n> ข้อความ.</marquee> รูปแบบการใช้คำสั่ง <marquee direction=n> ข้อความ.</marquee> right คือ ให้ข้อความวิ่งจากทางซ้ายมาทางขวา left คือ ให้ข้อความวิ่งจากทางขวามาทางซ้าย Up คือ ให้ข้อความวิ่งจากล่างขึ้นบน down คือ ให้ข้อความวิ่งจากบนขึ้นล่าง

<marquee bgcolor="n"> ข้อความ </marquee> n คือ ชื่อของรหัสสีที่ต้องการ ซึ่งมีได้ 2 แบบ คือ * ชื่อสีมาตรฐานต่างๆ เช่น red, green, blue ฯลฯ * รหัสสี (รหัสเลขฐาน 16) เช่น #000000, #FFFFFF ฯลฯ

คำสั่งเพิ่มเติม scrolldelay เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดความเร็วให้กับข้อความที่วิ่ง รูปแบบการใช้คำสั่ง <marquee scrolldelay =Number> ข้อความ </marquee>

คำสั่งเพิ่มเติม คำสั่งในการควบคุมการหยุดด้วยเมาส์ รูปแบบการใช้คำสั่ง คำสั่งเพิ่มเติม คำสั่งในการควบคุมการหยุดด้วยเมาส์ รูปแบบการใช้คำสั่ง <marquee onmouseover="this.stop()" onmouseout="this.start()"> ข้อความ</marquee>

การกำหนดรูปแบบและสีให้กับตัวอักษร

การกำหนดการแสดงรูปแบบตัวอักษร (Font) รูปแบบการใช้คำสั่ง <font face="ชื่อแบบตัวอักษรที่ต้องการ“>ข้อความ</font>

กำหนดสีของตัวอักษร รูปแบบการใช้คำสั่ง <font color="n" >ข้อความ</font>

กำหนดสีพื้นให้กับเอกสาร รูปแบบการใช้คำสั่ง <body bgcolor=“สี" >ข้อความ</body>

กำหนดสีของตัวอักษรให้เหมือนกันทั้งเอกสาร รูปแบบการใช้คำสั่ง <body text=“สี" >ข้อความ</body>