F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.)
หรือ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) หมายถึง จำนวนที่น้อยที่สุดที่มีจำนวนนับนั้น ๆ เป็นตัวประกอบร่วม ตัวคูณร่วมน้อยของจำนวนนับใด ๆ หรือ หมายถึง จำนวนที่น้อยที่สุดจำนวนนับนั้น ๆ ไปหารได้ลงตัว ตัวคูณร่วมน้อยระหว่างจำนวนนับใด ๆ
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) พิจารณาจำนวนที่ 2 และ 3 ไปหารได้ลงตัว (หรือเป็นตัวประกอบ) จำนวนที่ 2 ไปหารได้ลงตัว คือ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, ... จำนวนที่ 3 ไปหารได้ลงตัว คือ 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, ... จะพบว่าจำนวนที่ทั้ง 2 และ 3 ไปหารได้ลงตัว คือ 6, 12, 18 และตัวที่น้อยที่สุด คือ 6 จะได้ว่า ค.ร.น. ของ 2 และ 3 คือ 6
เฉลยการบ้าน สมบัติของจำนวนนับ 1. จงหา ค.ร.น. ของ 10 และ 18 F M B N สมบัติของจำนวนนับ เฉลยการบ้าน 1. จงหา ค.ร.น. ของ 10 และ 18 พหุคูณของ 10 ได้แก่ 10, 20, 30, 40, 50, 60, 70, 80, 90, 100, ... พหุคูณของ 18 ได้แก่ 18, 36, 54, 72, 90, 108, 126, 144, 162, ... พหุคูณร่วมของ 10 และ 18 คือ 90, ... พหุคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 10 และ 18 คือ 90 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 10 และ 18 คือ 90
เฉลยการบ้าน สมบัติของจำนวนนับ 2. จงหา ค.ร.น. ของ 5 และ 20 F M B N สมบัติของจำนวนนับ เฉลยการบ้าน 2. จงหา ค.ร.น. ของ 5 และ 20 พหุคูณของ 5 ได้แก่ 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, ... พหุคูณของ 20 ได้แก่ 20, 40, 60, 80, ... พหุคูณร่วมของ 5 และ 20 คือ 20, 40, ... พหุคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 5 และ 20 คือ 20 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 5 และ 20 คือ 20
เฉลยการบ้าน สมบัติของจำนวนนับ 3. จงหา ค.ร.น. ของ 9 และ 15 F M B N สมบัติของจำนวนนับ เฉลยการบ้าน 3. จงหา ค.ร.น. ของ 9 และ 15 พหุคูณของ 9 ได้แก่ 9, 18, 27, 45, 54, 63, 72, 81, 90, ... พหุคูณของ 15 ได้แก่ 15, 30, 45, 60, 75, 90, ... พหุคูณร่วมของ 9 และ 15 คือ 45, 90, ... พหุคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 9 และ 15 คือ 45 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 9 และ 15 คือ 45
เฉลยการบ้าน สมบัติของจำนวนนับ 4. จงหา ค.ร.น. ของ 8, 12 และ 36 F M B N สมบัติของจำนวนนับ เฉลยการบ้าน 4. จงหา ค.ร.น. ของ 8, 12 และ 36 พหุคูณของ 8 ได้แก่ 8, 16, 24, 32, 40, 48, 56, 64, 72, 80, ... พหุคูณของ 12 ได้แก่ 12, 24, 36, 48, 60, 72, 84, ... พหุคูณของ 36 ได้แก่ 36, 72, 108, ... พหุคูณร่วมของ 8, 12 และ 36 คือ 72, ... พหุคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 8, 12 และ 36 คือ 72 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 8, 12 และ 36 คือ 72
การหาตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) F M B N สมบัติของจำนวนนับ การหาตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) โดยการแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 20 และ 30 วิธีทำ แยกตัวประกอบของ 20 และ 30 ได้ดังนี้ ดังนั้น ค.ร.น.ของ 20 และ 30 คือ ตอบ 60
แยกตัวประกอบของ 15, 30 และ 45 ได้ดังนี้ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 15, 30 และ 45 วิธีทำ แยกตัวประกอบของ 15, 30 และ 45 ได้ดังนี้ ดังนั้น ค.ร.น.ของ 15, 30 และ 45 คือ ตอบ 90
แยกตัวประกอบของ 15 และ 22 ได้ดังนี้ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 15 และ 22 วิธีทำ แยกตัวประกอบของ 15 และ 22 ได้ดังนี้ จากการแยกตัวประกอบจะเห็นว่า 15 และ 22 ไม่มีตัวประกอบร่วม ดังนั้น ค.ร.น.ของ 15 และ 22 คือ หรือ ตอบ 330
เนื่องจาก 17 และ 23 เป็นจำนวนเฉพาะทั้งคู่ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 17 และ 23 วิธีทำ เนื่องจาก 17 และ 23 เป็นจำนวนเฉพาะทั้งคู่ ดังนั้น ค.ร.น.ของ 17 และ 23 คือ ตอบ 391
เนื่องจาก 13 เป็นจำนวนเฉพาะและ 13 หาร 30 ไม่ลงตัว F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 13 และ 30 วิธีทำ เนื่องจาก 13 เป็นจำนวนเฉพาะและ 13 หาร 30 ไม่ลงตัว ดังนั้น ไม่มีจำนวนเฉพาะที่เป็นตัวประกอบร่วมของ 13 และ 30 ดังนั้น ค.ร.น.ของ 13 และ 30 คือ ตอบ 390
เนื่องจาก 11 เป็นจำนวนเฉพาะที่เป็นตัวประกอบของ 55 F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 11 และ 55 วิธีทำ เนื่องจาก 11 เป็นจำนวนเฉพาะที่เป็นตัวประกอบของ 55 ดังนั้น ค.ร.น.ของ 11 และ 55 คือ พิจารณาจากการแยกตัวประกอบของ 55 ดังนั้น ค.ร.น.ของ 11 และ 55 คือ ตอบ 55
เนื่องจาก 13 เป็นจำนวนเฉพาะและ 13 หาร 30 ไม่ลงตัว F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 13 และ 30 วิธีทำ เนื่องจาก 13 เป็นจำนวนเฉพาะและ 13 หาร 30 ไม่ลงตัว จากการแยกตัวประกอบจะเห็นว่า 15 และ 22 ไม่มีตัวประกอบร่วม ดังนั้น ค.ร.น.ของ 15 และ 22 คือ หรือ ตอบ 330
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ วิธีการแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) วิธีการแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 6 และ 10 วิธีทำ แยกตัวประกอบของ 6 และ 10 จะได้ ดังนั้น ค.ร.น.ของ 6 และ 10 คือ 30
ทดสอบย่อยเก็บคะแนน 20 คะแนน F M B N สมบัติของจำนวนนับ ทดสอบย่อยเก็บคะแนน 20 คะแนน จงหา ค.ร.น. ของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยการแยกตัวประกอบ 1 6 และ 8 2 9 และ 15 3 14 และ 20 4 5, 8 และ 20 5 10, 15 และ 25
18 6 20 3 2 9 20 2 2 6 9 ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ไปหาร ผลลัพธ์ เศษ 6 20 3 2 ไปหาร ผลลัพธ์ เศษ 9 20 2 2 18 6 ไปหาร หารลงตัว 9
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ วิธีการแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) วิธีการแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง จงหาจำนวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 6 และ 9 แล้วเหลือเศษ 2 เท่ากัน วิธีทำ ต้องหาจำนวนนับที่น้อยที่สุดที่ 6 และ 9 ไปหารได้ลงตัว หา ค.ร.น. นั่นเอง ดังนั้น คำตอบคือ 18 + 2 = 20
ทดสอบย่อยเก็บคะแนน 20 คะแนน จงหาจำนวนนับที่น้อยที่สุดที่ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ทดสอบย่อยเก็บคะแนน 20 คะแนน จงหาจำนวนนับที่น้อยที่สุดที่ 1 หารด้วย 6 และ 9 แล้วเหลือเศษ 2 เท่ากัน 2 หารด้วย 4 และ 10 แล้วเหลือเศษ 3 เท่ากัน 3 หารด้วย 8 และ 12 แล้วเหลือเศษ 4 เท่ากัน 4 หารด้วย 6, 8 และ 10 แล้วเหลือเศษ 5 เท่ากัน 5 หารด้วย 4, 7 และ 9 แล้วเหลือเศษ 6 เท่ากัน
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) หลักการ สมบัติของจำนวนนับ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (บวก ลบเศษส่วน) หลักการ ทำให้ตัวส่วนเท่ากัน ในกรณีที่เศษส่วนมีตัวส่วนไม่เท่ากัน โดยหา ค.ร.น. ของตัวส่วนนั้น ๆ หาจำนวนใด ๆ มาคูณทั้งตัวเศษและตัวส่วน เพื่อให้ตัวส่วนมีค่าเท่ากับ ค.ร.น. ที่หาได้ เมื่อตัวส่วนเท่ากันแล้ว ให้ยุบรวมตัวส่วนเหลือเพียงตัวเดียว แล้วนำตัวเศษมาบวกลบกัน
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ การนำไปใช้ (บวก ลบเศษส่วน) F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (บวก ลบเศษส่วน) ตัวอย่าง จงหาค่าของ วิธีทำ ต้องทำตัวส่วนให้เท่ากันก่อน โดยหา ค.ร.น. ของ 4 และ 6 หาจำนวนมาคูณเศษส่วน เพื่อทำให้ตัวส่วนมีค่าเท่ากับ 12
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ การนำไปใช้ (บวก ลบเศษส่วน) F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (บวก ลบเศษส่วน) ตัวอย่าง จงหาค่าของ วิธีทำ
ทดสอบย่อยเก็บคะแนน 20 คะแนน จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ทดสอบย่อยเก็บคะแนน 20 คะแนน จงหาผลลัพธ์แต่ละข้อต่อไปนี้ 1 2 3 4 5
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) หลักการ สมบัติของจำนวนนับ F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) หลักการ มีเหตุการณ์หลาย ๆ เหตุการณ์ ช่วงระยะเวลาที่จะเกิดซ้ำของแต่ละเหตุการณ์ต่างกัน เหตุการณ์ทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นครั้งแรกพร้อม ๆ กัน ต้องการหาว่า เหตุการณ์ทั้งหมดจะเกิดขึ้นพร้อมกันอีกครั้งที่ระยะเวลาเท่าใด
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) ครอบครัวรักดีมีลูกสามคน แต่ละคนแยกย้ายกันไปทำงานคนละที่ แต่ลูกทุกคนจะกลับมาเยี่ยมพ่อแม่ที่บ้าน ตามเวลาดังนี้ คนที่หนึ่งทุก ๆ 8 วัน คนที่สองทุก ๆ 6 วัน คนที่ สามทุก ๆ 4 วัน ถ้าทุกคนกลับมาเยี่ยมพ่อแม่พร้อมกันในวันที่ 21 มีนาคม จงหาว่าอีกกี่วันครอบครัวนี้จะอยู่พร้อมหน้ากันอีกครั้ง และเป็นวันที่เท่าใด ตัวอย่าง วิธีทำ ต้องหา ค.ร.น. ของ 4, 6 และ 8
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) แยกตัวประกอบของ 4, 6 และ 8 จะได้ นั่นคือ ค.ร.น. ของ 4, 6 และ 8 เท่ากับ 24 ดังนั้น ครอบครัวนี้จะอยู่พร้อมหน้ากันอีกครั้ง หลังจากผ่านไป 24 วัน ซึ่งตรงกับวันที่ 14 เมษายน (วันครอบครัวของไทย)
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) นายแม้นเก็บส้มจากสวนไว้กองหนึ่ง และมีกล่องไว้ใส่ส้มอยู่ 3 ขนาด กล่องเล็กจุส้มได้ 4 ผล กล่องกลางจุส้มได้ 5 ผล และกล่องใหญ่จุส้มได้ 10 ผล ไม่ว่าจะเลือกใช้กล่องขนาดใดก็ตามเพียงขนาดเดียว ก็สามารถจุส้มกองนี้ได้หมดพอดี อยากทราบว่าส้มกองนี้มีอย่างน้อยที่สุดกี่ผล ตัวอย่าง
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา)
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) สมบัติของจำนวนนับ การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) การนำไปใช้ (โจทย์ปัญหา) วิธีทำ ต้องหา ค.ร.น. ของ 4, 5 และ 10 นั่นคือ ค.ร.น. ของ 4, 5 และ 10 เท่ากับ 20 ดังนั้น ส้มกองนี้มีอย่างน้อย 20 ผล
ทดสอบย่อยเก็บคะแนน 40 คะแนน F M B N สมบัติของจำนวนนับ ทดสอบย่อยเก็บคะแนน 40 คะแนน นาฬิกาปลุก 3 เรือน ถูกตั้งให้ดัง ณ เวลาต่าง ๆ ดังนี้ เรือนที่หนึ่ง ดังทุก ๆ 10 นาที เรือนที่สอง ดังทุก ๆ 15 นาที เรือนที่สาม ดังทุก ๆ 20 นาที ถ้านาฬิกาทั้งสามนี้เริ่มดังพร้อมกันที่เวลา 6.00 น. อีกกี่นาทีจึงจะดังพร้อมกันอีกครั้งหนึ่ง และเป็นเวลาเท่าใด 1 2 นักกีฬาสามคนวิ่งรอบสนามฟุตบอล ซึ่งแต่ละคนใช้เวลาในการวิ่งได้ครบรอบ 12,18 และ 24 นาที ถ้าทั้งสามคนออกจากเริ่มต้นพร้อมกัน จงหาว่าอีกกี่นาทีทั้งสามคนจะวิ่งมาอยู่ที่จุดเริ่มต้นพร้อมกัน
F M B N สมบัติของจำนวนนับ Lesson OVER