การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
ระบบHomeward& Rehabilation center
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
กลุ่ม 3 โรงพยาบาลชุมชนที่มีแพทย์ดำเนินการ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ นางอาภรณ์ ประชุมวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ หัวหน้าฝ่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด

แผนการออกประเมินคลินิก NCD คุณภาพ 23 พ.ค. 2557 (เช้า) รพ.โพนทอง (บ่าย) รพ.เสลภูมิ 26 พ.ค. 2557 รพ.ร้อยเอ็ด และ รพ.สต. 1 แห่ง 27 พ.ค. 2557 (เช้า) รพ.โพนทราย (บ่าย) รพ.สุวรรณภูมิ 29 พ.ค. 2557 (เช้า) รพ.ปทุมรัตต์ (บ่าย) รพ.เกษตรวิสัย 30 พ.ค. 2557 (เช้า) รพ.จตุรพักตรพิมาน (บ่าย) รพ.ศรีสมเด็จ

รูปแบบการประเมิน การแบ่งกลุ่มให้สัมภาษณ์ กลุ่มที่ 1 ผู้บริหารโรงพยาบาล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล หัวหน้าฝ่ายการ พยาบาล หัวหน้างานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ กลุ่มที่ 2 ผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ Case manager กลุ่มที่ 3 ผู้รับผิดชอบงานคลินิก NCD คุณภาพ กลุ่มที่ 4 ผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อ ฝ่ายเวชกรรมสังคม กลุ่มที่ 5 ผู้รับผิดชอบงานระบบข้อมูล ได้แก่ จนท.บันทึกข้อมูล/ผู้ดูแลระบบ กลุ่มที่ 6 กลุ่มผู้รับบริการ

ประเด็นคำถาม ในแต่ละกลุ่มให้เตรียมรายละเอียดในการตอบคำถามตามแบบชี้แจงการให้ สัมภาษณ์ (ตามเอกสารที่แจกให้)

แหล่งข้อมูลอ้างอิง องค์ประกอบที่ 1 มีทิศทางและนโยบาย เตรียม 1. แผนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล 2. แผนงาน/โครงการ ประจำปี 2557 3. ข้อมูลสถานการณ์ของโรคไม่ติดต่อ อย่างน้อย 1-3 ปี 4. กระบวนการดำเนินงานเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ 5. หนังสือสั่งการ 6. รายงานการประชุม ป้ายประกาศนโยบาย 7. แผนการออกติดตามความก้าวหน้า 8. รายงานสรุปผลการประเมินติดตามความก้าวหน้า

แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 มีระบบสารสนเทศ เตรียม 1. ระบบทะเบียนข้อมูลในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. รายงานจากโปรแกรมที่แสดงถึงความเชื่อมโยงข้อมูลของรพ.กับคลังข้อมูล จังหวัด(Data Center) และจาก รพ.กับ รพ.สต. 3. สรุปรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลโรคไม่ติดต่อ 4. แนวทางการพัฒนา/การจัดบริการสุขภาพกับกลุ่มเป้าหมาย

แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 3 มีการปรับระบบและกระบวนการ การบริการ เตรียม 1. ทะเบียนผู้ป่วย 2. ทะเบียนส่งต่อ(Refer) และเกณฑ์การส่งต่อที่ชัดเจน 3. ทะเบียนประเมินความเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อน 4. ทะเบียนเครือข่ายการดูแลรักษาโรค ข้อมูลผู้ประสานงานโรคไม่ติดต่อ 5. คำสั่งแต่งตั้งผู้ประสานงานโรคไม่ติดต่อ 6. รายงานการประชุม

แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 4 มีระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง เตรียม 1. แนวทางหรือกระบวนการที่สนับสนุนหรือส่งเสริมการจัดการของผู้ป่วย 2. ระบบการเตือน การติดตาม 3. ภาพประกอบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มหรือชมรมผู้ป่วย

แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 5 มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(ในการดูแลป้องกันและ จัดการโรค) เตรียม 1. คู่มือ/แนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline) 2. หลักฐานการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติในการดูแล 3. เอกสารคู่มือแนวปฏิบัติการดูแลเฉพาะโรค/ความเสี่ยง 4. หนังสือประสานงาน 5. ภาพประกอบการจัดงานมหกรรม/ KM 6. สรุปรายงานผลการจัดงานฯ

แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 6 จัดบริการเชื่อมโยงชุมชน เตรียม 1. แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงถึงการจัดกิจกรรมบริการใน ชุมชน 2. แผนงาน/โครงการของกองทุนสุขภาพท้องถิ่น