การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ นางอาภรณ์ ประชุมวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ หัวหน้าฝ่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
แผนการออกประเมินคลินิก NCD คุณภาพ 23 พ.ค. 2557 (เช้า) รพ.โพนทอง (บ่าย) รพ.เสลภูมิ 26 พ.ค. 2557 รพ.ร้อยเอ็ด และ รพ.สต. 1 แห่ง 27 พ.ค. 2557 (เช้า) รพ.โพนทราย (บ่าย) รพ.สุวรรณภูมิ 29 พ.ค. 2557 (เช้า) รพ.ปทุมรัตต์ (บ่าย) รพ.เกษตรวิสัย 30 พ.ค. 2557 (เช้า) รพ.จตุรพักตรพิมาน (บ่าย) รพ.ศรีสมเด็จ
รูปแบบการประเมิน การแบ่งกลุ่มให้สัมภาษณ์ กลุ่มที่ 1 ผู้บริหารโรงพยาบาล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล หัวหน้าฝ่ายการ พยาบาล หัวหน้างานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ กลุ่มที่ 2 ผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ Case manager กลุ่มที่ 3 ผู้รับผิดชอบงานคลินิก NCD คุณภาพ กลุ่มที่ 4 ผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อ ฝ่ายเวชกรรมสังคม กลุ่มที่ 5 ผู้รับผิดชอบงานระบบข้อมูล ได้แก่ จนท.บันทึกข้อมูล/ผู้ดูแลระบบ กลุ่มที่ 6 กลุ่มผู้รับบริการ
ประเด็นคำถาม ในแต่ละกลุ่มให้เตรียมรายละเอียดในการตอบคำถามตามแบบชี้แจงการให้ สัมภาษณ์ (ตามเอกสารที่แจกให้)
แหล่งข้อมูลอ้างอิง องค์ประกอบที่ 1 มีทิศทางและนโยบาย เตรียม 1. แผนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล 2. แผนงาน/โครงการ ประจำปี 2557 3. ข้อมูลสถานการณ์ของโรคไม่ติดต่อ อย่างน้อย 1-3 ปี 4. กระบวนการดำเนินงานเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ 5. หนังสือสั่งการ 6. รายงานการประชุม ป้ายประกาศนโยบาย 7. แผนการออกติดตามความก้าวหน้า 8. รายงานสรุปผลการประเมินติดตามความก้าวหน้า
แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 มีระบบสารสนเทศ เตรียม 1. ระบบทะเบียนข้อมูลในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. รายงานจากโปรแกรมที่แสดงถึงความเชื่อมโยงข้อมูลของรพ.กับคลังข้อมูล จังหวัด(Data Center) และจาก รพ.กับ รพ.สต. 3. สรุปรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลโรคไม่ติดต่อ 4. แนวทางการพัฒนา/การจัดบริการสุขภาพกับกลุ่มเป้าหมาย
แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 3 มีการปรับระบบและกระบวนการ การบริการ เตรียม 1. ทะเบียนผู้ป่วย 2. ทะเบียนส่งต่อ(Refer) และเกณฑ์การส่งต่อที่ชัดเจน 3. ทะเบียนประเมินความเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อน 4. ทะเบียนเครือข่ายการดูแลรักษาโรค ข้อมูลผู้ประสานงานโรคไม่ติดต่อ 5. คำสั่งแต่งตั้งผู้ประสานงานโรคไม่ติดต่อ 6. รายงานการประชุม
แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 4 มีระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง เตรียม 1. แนวทางหรือกระบวนการที่สนับสนุนหรือส่งเสริมการจัดการของผู้ป่วย 2. ระบบการเตือน การติดตาม 3. ภาพประกอบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มหรือชมรมผู้ป่วย
แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 5 มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(ในการดูแลป้องกันและ จัดการโรค) เตรียม 1. คู่มือ/แนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline) 2. หลักฐานการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติในการดูแล 3. เอกสารคู่มือแนวปฏิบัติการดูแลเฉพาะโรค/ความเสี่ยง 4. หนังสือประสานงาน 5. ภาพประกอบการจัดงานมหกรรม/ KM 6. สรุปรายงานผลการจัดงานฯ
แหล่งข้อมูลอ้างอิง(ต่อ) องค์ประกอบที่ 6 จัดบริการเชื่อมโยงชุมชน เตรียม 1. แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงถึงการจัดกิจกรรมบริการใน ชุมชน 2. แผนงาน/โครงการของกองทุนสุขภาพท้องถิ่น