การเขียนรูปทรงเรขาคณิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
สื่อการเรียนเรขาคณิต
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
รูปร่างและรูปทรง.
ADDIE model หลักการออกแบบของ
นางสาวนงนวรัศมิ์ ทรัพย์สกุล โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
ความเท่ากันทุกประการ
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
Points, Lines and Planes
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
Basic Graphics by uddee
Basic Graphics by uddee
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
Tangram.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
ความรู้เบื้องต้น การออกแบบ Media.
ให้ขยับก้านไม้ขีดได้ 3 ก้าน แล้วทำให้ปลาว่ากลับด้านจากซ้ายมาขวา
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
รูปเรขาคณิต สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)
การสร้างแบบเสื้อและแขน
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
เรขาคณิตสำหรับครูคณิตศาสตร์ The Geometry for Teacher
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ทรงกลม.
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
การใช้เครื่องมือ (Tool Box)
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนรูปทรงเรขาคณิต สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 2

Geometrical Construction เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 3 Geometrical Construction ใช้หลักการทางเรขาคณิตแบ่งครึ่งเส้นตรงและส่วนโค้ง ใช้หลักการทางเรขาคณิตเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น ใช้หลักการทางเรขาคณิตสร้างเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นโค้ง 2 เส้น แบบสัมผัสนอกและสัมผัสใน ใช้หลักการทางเรขาคณิตสร้างเส้นตรงสัมผัสกับวงกลม 2 วงที่กำหนดให้ ใช้หลักการทางเรขาคณิตสร้างรูปทรงหกเหลี่ยมให้อยู่ภายในวงกลม ใช้หลักการทางเรขาคณิตสร้างวงรีโดยใช้วงเวียน

วัตถุประสงค์สัปดาห์ที่ 3 เพื่อฝึกการใช้เครื่องมือพื้นฐาน เพื่อฝึกฝนการสร้างรูปทรงเรขาคณิต โดยใช้เครื่องมือเขียนแบบ

Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับเส้นตรง (a) เส้นตรงขนานกัน (b) เส้นตรงตั้งฉากกัน (c) เส้นตรงตัดกัน

Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับเส้นตรง การสร้างเส้นขนานกันด้วยวงเวียน โจทย์ Step 2 : ลากเส้นสัมผัสส่วนโค้ง GH จะได้เส้นขนานกับเส้น AB Step 1 : ลากเส้นตั้งฉาก EG และ FH แล้ว สร้างเส้นโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ XY ดังรูป

การสร้างเส้นขนานกันด้วยไม้ฉาก Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับเส้นตรง การสร้างเส้นขนานกันด้วยไม้ฉาก โจทย์ Step 1 : ลากเส้นตั้งฉาก EG แล้วสร้างเส้นโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ XY ดังรูป Step 2 : ใช้ไม้ฉาก 45 และ 30-60 ลากเส้นสัมผัสส่วนโค้ง GH จะได้เส้นขนานกับเส้น AB

การสร้างส่วนโค้งสัมผัสกับเส้นตรง Step 2 : ใช้วงเวียนลากส่วนโค้งดังรูป Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับส่วนโค้ง การสัมผัสกันของเส้นตรงและส่วนโค้ง การสร้างส่วนโค้งสัมผัสกับเส้นตรง Step 2 : ใช้วงเวียนลากส่วนโค้งดังรูป Step 1 : จากเส้นตรง AB ลากเส้นตั้งฉากจากจุด T ยาวเท่ากับรัศมีของส่วนโค้ง

การสัมผัสกันระหว่างส่วนโค้งกับส่วนโค้งทำให้เกิดจุดสัมผัส Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับส่วนโค้ง การสัมผัสกันระหว่างส่วนโค้งกับส่วนโค้งทำให้เกิดจุดสัมผัส

Geometrical Construction การแบ่งครึ่งเส้นตรงและส่วนโค้ง

Geometrical Construction การแบ่งครึ่งเส้นตรงและส่วนโค้ง วิธีที่ 1 ใช้วงเวียน Step 3 เส้นโค้งทั้งสองจะตัดกันจุด C และ D แล้วใช้ไม้บรรทัดลากเชื่อมจุดทั้งสอง จะได้เส้นตรง CD ที่แบ่งครึ่งเส้นตรง AB ดังรูป Step 1 กางวงเวียนให้มากกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวเส้นตรง AB Step 2 ใช้ A และ B เป็นจุดศูนย์กลางส่วนโค้ง ดังรูป

Geometrical Construction การแบ่งครึ่งเส้นตรงและส่วนโค้ง วิธีที่ 2 ใช้ไม้ฉาก Step 1 ลากเส้นจากจุด C และ D ด้วยมุมที่เท่ากัน โดยใช้ไม้ฉาก Step 2 ลากเส้นตั้งฉากจากจุดตัดของเส้นตรงทั้งสองกับเส้นตรง AB จะได้เส้นแบ่งครึ่งเส้นตรง AB ดังรูป

Step 1 ลากเส้น BC ทำมุมใดๆ กับเส้นตรง AB Geometrical Construction การแบ่งครึ่งเส้นตรงออกเป็น n ส่วน วิธีที่ 1 ใช้วงเวียน Step 2 เขียนส่วนโค้งรัศมี R เริ่มต้นจาก B ตัดกับเส้นตรง BC ออกเป็น n ส่วน เช่น n = 5 ดังรูป Step 3 ลากเส้นเชื่อมระหว่างจุดตัดที่ 5 กับจุด A แล้วลากเส้นจากจุดอื่นๆ ไปหาเส้นตรง AB โดยให้เส้นขนานไปกับเส้น A-5 Step 1 ลากเส้น BC ทำมุมใดๆ กับเส้นตรง AB

Geometrical Construction วิธีที่ 2 ใช้ไม้บรรทัด โจทย์ Step 4 ลากเส้นจากจุดแบ่งระยะไปยังเส้นตรง MN ให้ขนานกับเส้นตรง ON ดังรูป Step 2 วางไม้บรรทัดทาบลงบนเส้นตรง OM แล้วแบ่งระยะให้เท่ากันออกเป็น n ส่วน Step 3 ลากเส้นจากจุด O ไปยังจุด N Step 1 ลากเส้นตรง OM ทำมุมใดๆ กับเส้นตรง MN

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น แบบที่ 1 การเขียนส่วนโค้งที่เส้นตรง 2 เส้นตั้งฉากกัน โจทย์ Step 2 จากจุด A และ B สร้างเส้นโค้งรัศมี R มาตัดกัน Step 3 จากจุดตัด C ใช้เป็นจุดศูนย์กลางแล้วเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นตรงทั้งสอง Step 1 วาดเส้นโค้งรัศมี R ด้วยวงเวียนตัดกับเส้น AB

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น แบบที่ 2 การเขียนส่วนโค้งที่เส้นตรง 2 เส้นทำมุมแหลม โจทย์ Step 3 ใช้วงเวียนวาดเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นตรงทั้งสองเส้นรัศมีเท่ากับ CB หรือ CA Step 2 ลากเส้นตั้งฉากจากจุดตัด C ไปยังเส้นตรงทั้งสอง Step 1 ลากเส้นขนานที่อยู่ห่างจากเส้นตรงทั้งสองด้านเท่ากับ R (รัศมี)

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น แบบที่ 3 การเขียนส่วนโค้งที่เส้นตรง 2 เส้นทำมุมป้าน โจทย์ Step 3 ใช้วงเวียนวาดเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นตรงทั้งสองเส้นรัศมีเท่ากับ CB หรือ CA Step 2 ลากเส้นตั้งฉากจากจุดตัด C ไปยังเส้นตรงทั้งสอง Step 1 ลากเส้นขนานที่อยู่ห่างจากเส้นตรงทั้งสองด้านเท่ากับ R (รัศมี)

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น ตัวอย่างของชิ้นงานที่มีส่วนโค้งสัมผัสกับเส้นตรงสองเส้น

Geometrical Construction การสร้างเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นโค้ง 2 เส้น แบบสัมผัสนอก Step 2 จากจุดศูนย์กลาง A และ B ลากส่วนโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับความยาว R1 + R และ R2 + R ตามลำดับ จะได้จุดตัด P ดังรูป แล้วลากเส้นโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ R จะได้เส้นโค้งที่สัมผัสกับเส้นโค้ง A และ B ดังรูป โจทย์ Step 1 กำหนดให้ R = 2 เป็นรัศมีของเส้นโค้งที่สัมผัสกับส่วนโค้งทั้งสองแบบสัมผัสนอก

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นโค้ง 2 เส้นแบบสัมผัสนอก ตัวอย่างของชิ้นงาน

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นโค้ง 2 เส้น แบบสัมผัสใน โจทย์ Step 2 จากจุด C ลากเส้นโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ c จะได้เส้นโค้งที่สัมผัสกับเส้นโค้ง A และ B ดังรูป Step 1 จากจุดศูนย์กลาง A และ B ลากส่วนโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับความยาว c-a และ c-b ตามลำดับ จะได้จุดตัด C ดังรูป

Step 3 ลากเส้นเชื่อม BC ไปตัดกับวงกลมที่จุด D การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างเส้นตรงสัมผัสกับวงกลม 2 วงที่กำหนดให้ แบบที่ 1 ใช้วงเวียน Step 3 ลากเส้นเชื่อม BC ไปตัดกับวงกลมที่จุด D Step 2 แบ่งเส้นตรง AB เป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน จะได้จุดตัด X แล้วลากครึ่งวงกลม AB ตัดกับวงกลม R – r ที่จุด C ดังรูป Step 1 สร้างวงกลมรัศมี R – r โดยใช้ B เป็นจุดศูนย์กลาง Step 4 ลากเส้น AE ให้ขนานกับเส้นตรง BD แล้วลากเส้นเชื่อมจุด E และ D ซึ่งจะสัมผัสกับวงกลมทั้งสอง

Step 4 ลากเส้นตรงเชื่อมแต่ละจุดจะได้รูป 6 เหลี่ยมมีวงกลมล้อมรอบดังรูป การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างรูปทรงหกเหลี่ยม แบบที่ 1 รูปหกเหลี่ยมภายในวงกลม (Inscribed Hexagon) โดยใช้วงเวียน Step 3 ใช้รัศมีเท่ากับ AB วาดเส้นโค้งไปจาก A และ B ไปตัดวงกลมจะได้จุด C, D, E และ F Step 1 วาดเส้นโค้งรัศมีเท่ากับ AB โดยใช้จุด A และ B เป็นจุดศูนย์กลาง และเส้นโค้งตัดกันได้จุด O ดังรูป Step 2 วาดวงกลมด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ OA โดยใช้ O เป็นจุดศูนย์กลาง Step 4 ลากเส้นตรงเชื่อมแต่ละจุดจะได้รูป 6 เหลี่ยมมีวงกลมล้อมรอบดังรูป

Step 3 ลากเส้นตรงเชื่อมจุดต่าง การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างรูปทรงหกเหลี่ยม แบบที่ 2 รูปหกเหลี่ยมภายในวงกลม (Inscribed Hexagon) โดยใช้ไม้ฉาก Step 3 ลากเส้นตรงเชื่อมจุดต่าง Step 2 ลากเส้นตรงทำมุมหก 60 และ 120องศา ผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมจะได้จุดตัด D, E, F, G Step 1 วาดวงกลมด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับครึ่งหนึ่งของด้านกว้างที่สุดของรูปหกเหลี่ยม

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างรูปทรงหกเหลี่ยม แบบที่ 3 รูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม (Circumscribed Hexagon) โดยใช้ไม้ฉาก Step 3 ลากเส้นตรงเชื่อมจุดต่าง Step 1 วาดวงกลมด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับครึ่งหนึ่งของด้านแคบที่สุดของรูปหกเหลี่ยมลากเส้นรัศมีแบ่งวงกลมออกเป็น 6 ส่วนเท่าๆ กัน Step 2 ใช้ไม้ฉาก 30 – 60 องศา ลากเส้นสัมผัสกับวงกลม แต่ละส่วนของวงกลม

Geometrical Construction การสร้างวงรีด้วยวิธีสี่เหลี่ยมด้านขนาน Step 4 ลากเส้นโค้งรัศมีเท่ากับความยาวเส้นตรง EA โดยใช้จุด G และ E เป็นจุดศูนย์กลาง Step 5 ลากเส้นโค้งรัศมีเท่ากับ r โดยใช้ F และ H เป็นจุดศูนย์กลาง จะได้วงรีดังรูป Step 3 ลากเส้นเชื่อมจุด E กับจุด A และ D จะได้จุดตัด F และ H ดังรูป Step 2 ลากเส้นทแยงมุม และแบ่งครึ่งด้านทั้งสี่ของสี่เหลี่ยมด้านขนานจุด A, B, C และ D Step 1 วาดสี่เหลี่ยมด้านขนานขนาดเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม

Geometrical Construction การสร้างวงรีด้วยวิธีสี่เหลี่ยมด้านขนาน

ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning จบสัปดาห์ที่ 3 อย่าลืมทำการบ้าน ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning