สถานการณ์น้ำมันเชื้อเพลิง ๙ เดือนแรกของปี ๒๕๕๕ Topic สถานการณ์น้ำมันเชื้อเพลิง ๙ เดือนแรกของปี ๒๕๕๕
สถานการณ์การจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิง 9 เดือนแรกของปี 2554 เทียบกับปี 2555 ชนิดน้ำมัน เบนซิน ดีเซล LPG NGV 2555 20.6 55.9 605 7.6 2554 20.3 52.5 566 6.5 % เพิ่ม(ลด) 1.5 6.4 7.0 17.7 ล้านลิตร/วัน ล้านลิตร/วัน พันตัน/เดือน ล้าน กก./วัน
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเบนซินรวมต่อวัน ล้านลิตร/วัน
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเบนซินรวมต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน (0.9) (5.6) (12.4) (1.0) 0.3 (3.6) 2.4 (1.5) 3.4 0.9 2.2 1.0 0.5 % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน (1.8) (6.5) (0.5) 14.6 (3.7) 0.4 (2.7) 2.7 (4.5) 0.7 (3.3)
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเบนซิน ออกเทน 91 ต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน 22.8 22.1 16.8 18.9 18.5 12.4 22.7 14.7 22.0 16.6 19.5 0.2 (20.5) % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน 21.1 (1.2) 3.4 2.8 (6.6) (0.8) (2.6) (5.7) 1.1 3.2 (6.5) (3.3)
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเบนซิน ออกเทน 95 ต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน 18.0 (13.8) (39.5) (16.6) 16.8 5.3 10.2 20.8 14.2 13.1 21.6 (27.8) (34.9) % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน 23.0 (24.3) (16.1) 43.2 (1.6) (5.3) (10.4) (10.3) (4.8) 2.6 (6.8) (15.5) 1.8
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน (17.3) (24.3) (32.1) (14.0) (11.6) (10.0) (11.3) (7.6) (8.8) (7.9) 1.8 21.5 % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน (17.8) (11.4) (4.5) 27.8 (1.1) 1.5 (2.6) (1.6) 2.3 (3.0) 3.7 (1.7)
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ อี10 ออกเทน 91 ต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน 16.1 8.6 (5.1) 9.7 8.4 4.4 6.5 3.6 5.4 2.6 1.2 15.7 % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน (5.4) (9.2) (6.5) 21.4 (1.7) 2.0 (1.4) 1.6 (2.0) 1.4 (3.9) 2.8 (0.1)
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ อี10 ออกเทน 95 ต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน (41.8) (47.7) (51.4) (33.3) (29.5) (30.9) (26.8) (27.0) (21.8) (22.5) (20.4) (12.0) 19.5 % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน (30.2) (13.5) (0.9) 33.5 0.6 (4.7) 0.4 2.5 (3.5) 2.0 (5.0)
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ อี20 ต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน 65.8 33.9 12.8 38.8 39.4 27.8 30.1 24.1 21.4 27.1 28.1 51.8 68.2 % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน (4.4) (14.6) (11.3) 1.6 3.6 1.5 7.3 (3.5) 4.2 18.8 5.5
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์ อี85 ต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน 350 254.7 188.4 278.6 266.6 280.2 247.9 279.4 196.5 196.2 222.5 274.4 275.1 % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน 1.6 (7.2) (13.3) 51.3 13.4 18.2 12.2 7.8 6.4 8.8 19.4 20.1 0.4
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันดีเซลต่อวัน ล้านลิตร/วัน
ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันดีเซลหมุนเร็วต่อวัน ล้านลิตร/วัน ปี / เดือน ก.ย. 54. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. % การเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน 6.4 2.6 (2.8) 6.5 4.3 5.9 5.8 1.6 4.8 9.4 7.9 3.4 % การเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อน 0.2 (4.7) 7.4 10.4 (5.5) 3.0 (4.8) 0.6 (2.9) (4.9) 1.1 (3.0)
ปริมาณการจำหน่าย LPG พันตัน/เดือน (4.1) (1.6) (6.3) 16.5 (2.0) (5.0) % การเปลี่ยนแปลง ก.ย. 54 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ครัวเรือน (4.1) (1.6) (6.3) 16.5 (2.0) (5.0) 11.0 (3.4) 4.0 (2.4) 2.2 3.7 (5.5) อุตสาหกรรม (1.2) (11.3) (9.0) 9.7 3.6 6.7 (17.4) 17.7 (3.9) 5.9 (5.2) 0.5 ขนส่ง (4.5) (12.4) (10.6) 30.5 6.0 (5.8) 1.0 (5.6) 3.2 (2.2) 3.4 4.2 (8.5) ปิโตรเคมี (8.7) 5.1 9.4 (15.0) (16.0) 14.7 (9.2) 0.0 (6.1) 9.8 7.2 รวม (2.1) (1.7) 5.4 5.5 (8.3) 10.1 (7.0) (3.8) 5.3 4.3
ปริมาณการจำหน่าย NGV ต่อวัน ปี/เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2553 4.3 4.8 4.9 4.6 4.7 5.0 5.3 5.4 5.7 5.8 2554 6.4 6.4 6.0 6.6 6.8 6.7 6.9 6.2 5.5 6.8 2555 7.4 7.7 7.8 7.2 7.6 7.9
ปริมาณและมูลค่าการนำเข้า-ส่งออก 9 เดือนแรกของปี 2554 เทียบกับปี 2555 ปริมาณและมูลค่าการนำเข้า-ส่งออก 9 เดือนแรกของปี 2554 เทียบกับปี 2555 นำเข้า ปริมาณ (พันบาร์เรล/วัน) % เพิ่ม (ลด) มูลค่า (พันล้านบาท) 2555 2554 น้ำมันดิบ 866 812 6.6 851 742 14.7 สำเร็จรูป - LPG (พันตัน/เดือน) 70 149 54 122 28.9 22.5 55 41 38 31 42.8 34.5 รวม 936 867 8.0 906 780 16.1 ส่งออก 196 189 3.8 200 179 11.9
ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก เหรียญสหรัฐ/บาร์เรล น้ำมัน/ราคา ราคา ณ 19 ต.ค. 55 ราคา 1-19 ต.ค. ก.ย.55 ส.ค.55 ดูไบ 110.15 109.80 111.24 108.51 เบรนท์ 112.47 112.92 113.54 113.36 WTI 90.12 91.19 94.74 94.07 เบนซิน 95 124.08 127.43 126.13 127.49 ดีเซล 128.39 129.09 130.63 129.18
การยกเลิก น้ำมันเบนซิน 91 24 ตุลาคม 2555 การยกเลิก น้ำมันเบนซิน 91 24 ตุลาคม 2555
1. ความเป็นมาของการยกเลิกเบนซิน 91 1.1 นโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ส่งเสริมการผลิต การใช้ ตลอดจนการวิจัยพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก โดยตั้งเป้าหมายใช้ทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล 25% ภายใน 10 ปี 1.2 มติ กพช. ในการประชุมครั้งที่ 6/2554 (ครั้งที่ 139) เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 เห็นชอบแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี (AEDP 2555-2564) โดยตั้งเป้าหมายการทดแทนการใช้น้ำมันในภาคขนส่งจากเอทานอล 9 ล้านลิตร/วัน ซึ่งการยกเลิกการใช้น้ำมันเบนซิน 91 เป็นนโยบายหนึ่งในการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนตามแผน AEDP และ กพช. มีมติเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิกน้ำมันเบนซิน 91 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 เป็นต้นไป 1.3 มติ กพช. ในการประชุมครั้งที่ 4/2555 (ครั้งที่ 143) เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2555 เห็นชอบให้ทบทวนมติ กพช. เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 โดยให้เลื่อนกำหนดการยกเลิกเบนซิน 91 ออกไปอีก 3 เดือน เป็นวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามข้อเสนอของ กบง. เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำมันเบนซินพื้นฐาน (G-Base) จากเหตุการณ์โรงกลั่นบางจากไฟไหม้และโรงกลั่นบางรายหยุดซ่อมบำรุง
2. ผลดีของการยกเลิกเบนซิน 91 เมื่อยกเลิกเบนซิน 91 แล้ว ผู้บริโภคจะเปลี่ยนไปใช้แก๊สโซฮอลมากขึ้น สำหรับผู้ที่ไม่สามารถใช้แก๊สโซฮอลได้ ก็จะยังคงมีเบนซิน 95 เป็นทางเลือกอยู่ แต่การเปลี่ยนไปใช้แก๊สโซฮอลจะก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการ 2.1 ด้านราคา ปัจจุบันราคาเบนซิน 91 อยู่ที่ 44 บาท/ลิตร ในขณะที่ราคา แก๊สโซ ฮอล 91 อยู่ที่ 36 บาท/ลิตร การเปลี่ยนไปใช้แก๊สโซฮอลจะทำให้ประหยัดลงประมาณ 7 บาท/ลิตร (หักความสิ้นเปลืองของแก๊สโซฮอลแล้ว) 2.2 ด้านภาคการเกษตร หากผู้บริโภคเปลี่ยนไปใช้แก๊สโซฮอลจะทำให้ความต้องการใช้ เอทานอลเพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน 1.3 ล้านลิตร/วัน เป็น 2.0 ล้านลิตร/วัน ซึ่งจะช่วยให้ เกษตรกรผู้ปลูกอ้อยและมันสำปะหลังมีรายได้เพิ่มขึ้น และยังช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า เกษตรทำให้ราคาพืชผลเกษตรไม่ตกต่ำ 2.3 ด้านเศรษฐกิจ ปัจจุบันประเทศไทยมีโรงงานผลิตเอทานอล 20 แห่ง กำลังการผลิต 3.3 ล้านลิตร/วัน (กากน้ำตาล/น้ำอ้อย 1.6 มันสำปะหลัง/มันเส้น 0.8 และวัตถุดิบหลาย ชนิด 0.9 ล้านลิตร) แต่มีความต้องการใช้เอทานอลเพียง 1.3 ล้านลิตร/วัน จึงยังมีกำลัง การผลิตส่วนเกิน 2.0 ล้านลิตร/วัน การเพิ่มความต้องการเอทานอลจะทำให้เกิดการจ้าง งานในภาคเกษตรและโรงงานผลิต เอทานอล และจะก่อให้เกิดผลทวีคูณของการใช้ จ่าย (Multiplier Effect) ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศด้วย
2. ผลดีของการยกเลิกเบนซิน 91 (ต่อ) 2.4 ด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากการใช้เชื้อเพลิงทดแทน มีวัฏจักรชีวิต (Life Cycle) ในส่วนที่เป็นพืชซึ่งสามารถ ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้น การใช้แก๊สโซ ฮอลจะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเท่ากับว่า ผู้ใช้แก๊สโซฮอลมีส่วนช่วยในการลดภาวะโลกร้อนด้วย 2.5 ด้านความมั่นคงทางพลังงาน การใช้เอทานอลที่ผลิตได้ในประเทศจะช่วยลดการพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศ
3. การผลิตและการจำหน่าย คาดการณ์หลังยกเลิกเบนซิน 91 3.1 การจัดหาและจำหน่ายเบนซินพื้นฐาน ล้านลิตร/เดือน H1/2555 คาดการณ์หลังยกเลิกเบนซิน 91 กรณี 1* กรณี 2* การผลิต 296 495 จำหน่าย 314 526 505 นำเข้า 17* 31 10 การใช้เอทานอล 39 63 60 มาตรการส่งเสริม อี 20 จำหน่าย 314 517 495 นำเข้า 17 22 เมื่อมีมาตรการส่งเสริม อี 20 ประชาชนจะเปลี่ยนไปใช้ อี 20 เพิ่มขึ้นเป็น 3.6 ล้านลิตร/วัน ซึ่งจะทำให้การนำเข้าเบนซินพื้นฐานลดลง หรืออาจไม่ต้องนำเข้า หมายเหตุ : 1. จากผลการศึกษาของ PTIT มีข้อสมมติฐานว่าเมื่อยกเลิกเบนซิน 91 แล้ว ประชาชนจะ เปลี่ยนไปใช้น้ำมันเบนซิน 95 สำหรับกรณีที่ 1 17% และกรณีที่ 2 25% 2. ปริมาณการนำเข้าช่วงครึ่งแรกของปี 2555 อยู่ที่ 17 ล้านลิตร/เดือน เนื่องจาก SPRC อยู่ ในช่วงปรับเปลี่ยนมาตรฐานน้ำมันยูโร 4
3. การผลิตและการจำหน่าย 3.2 แผนการขยายสถานีบริการ อี 20 E 20 ? 830 1,160 1,550+? 646 514 750 800 ในขณะที่ความต้องการ อี 20 เพิ่มขึ้น ผู้ค้าน้ำมันก็มีแผนขยายสถานีบริการ อี 20 เพื่อส่งเสริมพลังงานทดแทน ลดการนำเข้าเชื้อเพลิง และรองรับความต้องการ อี 20 ที่จะเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าในปี 2556 จะมีสถานีบริการ อี 20 จำนวน 1,550 แห่ง นอกจากนี้ ยังพบว่าเมื่อยกเลิกเบนซิน 91 แล้ว มีผู้ค้าน้ำมันรายอื่นๆ สนใจที่จะเปิดสถานีบริการ อี 20 เพิ่มเติมอีกด้วย
รายละเอียดรุ่นรถยนต์และมอเตอร์ไซด์ตรวจสอบได้จาก http://www.doeb.go.th การยกเลิก น้ำมันเบนซิน ๙๑ กำหนดการยกเลิกน้ำมันเบนซิน ออกเทน ๙๑ ผู้ผลิตรถยนต์และรถมอเตอร์ไซด์ ได้ให้การรับรองแล้วว่า รถยนต์ที่เป็นหัวฉีดที่ผลิตตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ และ รถมอเตอร์ไซด์ที่เป็นเครื่องยนต์ ๔ จังหวะทุกรุ่น สามารถใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ได้ รายละเอียดรุ่นรถยนต์และมอเตอร์ไซด์ตรวจสอบได้จาก http://www.doeb.go.th จากวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ เป็น วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖ บัดนี้ กรมธุรกิจพลังงานได้ออกประกาศมาตรฐานคุณภาพน้ำมันเบนซินฉบับใหม่ เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๕ ให้เหลือน้ำมันเบนซินเพียงชนิดเดียวซึ่งจะใช้ชื่อว่า “น้ำมันเบนซิน” ที่มีค่าออกเทน ๙๕ และให้มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖ เป็นต้นไป