เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th Electronic Commerce เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
Gems and Jewelry Electronic Commerce
บทที่ 7 การตลาดออนไลน์ 2 (ต่อ)
บทที่ 2 การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การประยุกต์ใช้ไอซีที ในบริบทธุรกิจท่องเที่ยว
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
06/11/56 บทที่ 1 ภาพรวมของ E- Commerce.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ข้อสอบกลางภาค ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นว่า E-Business และ E-Commerce มีประโยชน์อย่างไรกับนักศึกษาบ้างในปัจจุบันและอนาคต 2 ในกรณีที่นักศึกษาเป็นเจ้าของบริษัทด้านค้าขายและติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ให้กับลูกค้าทั่วไป.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
Analyzing The Business Case
Computer Application in Customer Relationship Management
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
แยกตามลักษณะผู้ใช้บริการ
People-to-People (P2P)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
บทที่ 13 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
Chapter 1 แนะนำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
กราฟเบื้องต้น.
Customer Relationship Management (CRM)
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th Electronic Commerce เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th

Efraim Turban, David King, Jae Lee Viehland ตำราหลัก Text book Efraim Turban, David King, Jae Lee Viehland :Electronic Commerce-AManagerial Perspective 2008 ตำราเสริม 1. E-commerce ในเชิงธุรกิจ –เรียนรู้จริง-เรียนรู้จาก กรณีศึกษาเด่นทั่วโลก,2545 ,ECRC/NECTEC 2. อีคอมเมิรซ์ไทย : สถิติและบทวิเคราะห์รายสาขาธุรกิจ ,2545,ECRC/NECTEC 3. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ,2547 กิตติ ภักดี วัฒนะกุล และทวีศักด ิ์ กาญจนสุวรรณ

Chapter 1 Overview of Electronic Commerce

Learning Objectives 1. นิยามความหมายและประเภทของ electronic commerce (EC) 2. โครงสร้างของ E-commerce 3. ประเภทของธุรกิจ E-commerce 4. รูปแบบธุรกิจ E-commerce

Learning Objectives(Cont) 5. ผลดีที่ของ E-commerce ที่มีต่อองค์กร, ผู้ซื้อ และสังคม 6. ข้อจำกัดที่นำ E-commerce 7. บทบาทของดิจิตอล กับการปฏิวัติในระบบ E-commerce 8. แรงกดดันจากภายนอกที่ทำให้องค์กรต้องปรับตัวโดยใช้ E-commerce

Definitions Electronic Commerce Electronic Business

Electronic Commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การซื้อ การขาย หรือการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการ และข้อมูลข่าวสาร ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การแฟ็กเอกสารสั่งซื้อ การขายตรงทางทีวี

Electronic Business ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึงการดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีด้านอิเล็กทรอนิกส์ หรืออินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลางโดยมีการประยุกต์ใช้ในทุกกิจกรรมทั้งในส่วนหน้าร้าน(Front office)และหลังร้าน (Back office) รวมทั้งการเชื่อมต่อกับระบบการค้ากับองค์กรภายนอกด้วย เช่น เชื่อมต่อกับระบบธนาคาร E-BankingหรือกับSuppliers โดยผ่านระบบ E-Supply Cahinทั้งในรูปของ Internet, Intranet,Extranet

Difference E-Business from E-Commerce สรุป E-Business มีความหมายกว้างกว่า E-Commerce

A Brief History of EC

A Brief History of EC 1970s: เริ่มมีการนำ E-Commerce มาใช้สร้างนวตกรรมใหม่ คือการโอนเงิน EFT (Electronic Fund Transfer ) ในสถาบันการเงิน และองค์กรขนาดใหญ่ Electronic data interchange (EDI): การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นงานประจำ เช่นธุรกรรมการเงิน ธุรกรรมอุตสาหกรรม การผลิต การค้าปลีก การบริการ เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน interorganizational system (IOS): การเชื่อมโยงกันระหว่างองค์กร เช่นการเชื่อมโยงระบบสต๊อกสินค้า สามารถตรวจสอบ สต๊อกสินค้าที่มีอยู่ได้

A Brief History of EC 1990s: มีการนำระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการค้า 1999s: ธุรกิจ E-Commerce ได้ขยายตัวจากรูปแบบ B2C เป็น B2B มากขึ้น และมีหลายธุรกิจประสบความล้มเหลว จากการนำ EC มาใช้ โดยเฉพาะธุรกิจ E-tailing

แนวโน้ม E-Commerce ในอนาคต 1969 U.S. งานวิจัยของ www.forrester.com รายงานธุรกิจ B2C เติบโต $518 ล้าน ปี 2000 เพิ่มขึ้น $6.6 พันล้าน สำหรับธุรกิจ B2B เติบโตถึง $10ล้าน 1990s : ธุรกิจ dot-coms เติบโตสูงสุด 2004s: คาดว่าธุรกิจ B2B จะเติบโต $2- $7 หมื่นล้าน โดยมีการนำไปใช้ในการประมูล การซื้อ-ขาย เติบโต15-25%ต่อเดือน 2008s: คาดคะเนว่า จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อซื้อสินค้าจะโตถึง 50% ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด

Example E-Commerce Business

Marks & Spencer—A New Way to Complete ปัญหาที่พบ Marks & Spencer เป็นห้างสรรพสินค้าในประเทศอังกฤษที่ประกอบธุรกิจค้าปลีกที่มีคุณภาพ และบริษัทประสบกับปัญหาการแข่งขันที่สูง ในสภาวะเศษฐกิจที่ตกต่ำลง ปัจจัยที่จะประสบความสำเร็จ : Critical success factors การบริการที่ลูกค้าพอใจ ระบบสต๊อกสินค้าที่เหมาะสมดีมีประสิทธิภาพ สายการผลิตที่มีประสิทธิภาพ

Marks & Spencer (cont.) ทางออก :The Solution M&S เข้าใจในยุคของดิจิตอล มีการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยี โดยเฉพาะการนำ E-commerce มาใช้ในธุรกิจ

Marks & Spencer (cont.) M & S เป็นผู้เริ่มต้นในการนำE-Commerce มาใช้ในแต่ละด้านดังนี้ Security : ระบบรักษาความปลอดภัย Warehouse management : การจัดการคลังสินค้า Merchandise receiving :การรับสินค้า Inventory control : การควบคุมกลังสินค้า การเพิ่มซัพพลายของสินค้าแฟชั่น เป็นธุรกิจที่ทำร่วมกับธุรกิจอื่นโดยผ่าน EC :Collaborative commerce

Marks & Spencer (cont.) ผลที่ได้รับ :The Results M & S กลายเป็นผู้นำในธุรกิจค้าปลีก สร้างกำไรเพิ่มขึ้น และมีความเจริญ

Marks & Spencer (cont.) What can we learn… การขายหน้าร้านแบบเก่า (brick-and-mortar) มีที่ตั้งบริษัท จริง มีการแข่งขันกันในตลาด การนำ E-commerce มาใช้ช่วยปรับปรุงในด้านต่างดังนี้ supply chain operation : สายการผลิต Information : สารสนเทศ money ,raw materials : เงิน วัตถุดิบ increase customer service : เพิ่มบริการใหม่ให้ลูกค้า open up markets to more customers : เปิดตลาด เพื่อเพิ่มลูกค้า

Electronic Commerce Concepts

Electronic Commerce Concepts ที่มาของ E-Commerce เกิดจากการนำอินเทอร์เน็ตเข้า มาใช้ทำให้สามารถเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก มีช่องทางการจำหน่ายสินค้า และบริการ การจัดการในแต่ละงาน เศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป การตลาด และโครงสร้างอุตสาหกรรม การผลิตสินค้าและบริการ ส่วนแบ่งการตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค งานและตลาดแรงงาน ผลกระทบของสังคม และการเมืองที่พบเห็น

Electronic Commerce Concepts(Cont) Communications : การส่งสินค้า บริหาร ข้อมูล การจ่ายเงินโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ Commercial (trading): การค้า รวมทั้งการซื้อ-ขายสินค้า หรือบริการ และข้อมูลข่าวสารโดยผ่านระบบ Internet หรือบริการออนไลน์อื่นๆ

Electronic Commerce Concepts(Cont) Business process : กระบวนการทางธุรกิจที่มีการแข่งขันทางอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ระบบเครือข่าย มีการแบ่งข้อมูลสำหรับจัดการธุรกิจ Service: การปรับปรุงต้นทุนการบริการ คุณภาพการบริการ และเพิ่มความรวดเร็วในการจัดส่งสินค้าหรือบริการภายใต้การบริหารจัดการที่ดี

Electronic Commerce Concepts(Cont) Learning: การเรียนออนไลน์ เป็นรูปแบบการ อบรม หรือการศึกษาในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย และ องค์กรทางธุรกิจอื่นๆสามารถนำไปใช้ได้ Collaborative: การทำงานร่วมกัน ซึ่งมีความ ร่วมมือกันระหว่างองค์กรธุรกิจที่ทำงานร่วมกัน Community: มีการรวมกลุ่มกัน มีสถานที่ทำให้ สมาชิกสามารถทำกิจกรรม หรือทำธุรกรรมร่วมกัน หรือ ร่วมมือกันระหว่างองค์กร

E-Commerce successes (ความสำเร็จของ E-Commerce) Virtual EC companies eBay VeriSign AOL Checkpoint Click-and-mortar Cisco General Electric IBM Intel Schwab

Campusfood.Com ประสบความสำเร็จโดย การนำโทรศัพท์ เมล์ และ อินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วย สร้างฐานลูกค้าของบริษัทซึ่งขยายไปยังมหาวิทยาลัย สร้างธุรกิจรายได้ จาก food delivery

E-Commerce failures (ความล้มเหลวของ E-Commerce)

1999s บริษัทขนาดใหญ่ประสบความล้มเหลวจาก EC Dot-com ล้มเหลวเนื่องจากขาดประสบการณ์ ***ยกเว้น Amazon.com สร้างรายได้มหาศาล

The Interdisciplinary Nature of EC ความรู้/ความเชี่ยวชาญที่ต้องมีในการทำ EC

Major EC disciplines Computer science : วิทยาการคอมพิวเตอร์ Marketing: การตลาด Consumer behavior: พฤติกรรมผู้บริโภค Finance: การเงิน Economics: เศรษฐศาสตร์ Management information systems :การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Business Models

Business models: วิธีการทางธุรกิจที่จะทำให้ธุรกิจสามารถสร้างรายได้ Examples: Name your price : มีชื่อสียงเป็นที่รู้จักดี Find the best price : ราคาที่ดี เช่นจองตั๋วช่วงเวลาเช้า Dynamic brokering : มีการประมูล Affiliate marketing : มีเบรนเนอร์แล้วส่งต่อลูกค้าให้

E-commerce Framework

E-Commerce มีส่วนประกอบ 5 ส่วนดังนี้ People : ประชาชน Public policy : นโยบายของรัฐ Marketing & advertising : การตลาดและการโฆษณา Support services : การบริการลูกค้า Business partnerships : พันธมิตรทางธุรกิจ

Framework for EC คน (People) หมายถึง ผู้ขาย ผู้ซื้อ คนกลาง พนักงาน IT และอื่น ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง นโยบายสาธารณชน หมายถึง กฎหมาย ภาษี และนโยบายหลักๆ ที่สำคัญ เช่น สิทธิส่วนบุคคล ที่ถูกกำหนดด้วยรัฐบาล ในที่นี้นโยบายจะรวมถึงมาตรฐานด้านเทคนิค และ โปรโตคอล (Protocol) การตลาด และการโฆษณาประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์เป็นสิ่งสำคัญเพื่อใช้ติดต่อกับลูกค้า และทำธุรกิจค้าขาย รวมถึงการมองหาตลาดแหล่งใหม่ ๆ และกลยุทธ์ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ พันธมิตรธุรกิจ E-commerce ถูกนำมาใช้ในการบริหาร Supply Chain หรือ ระหว่างคู่ค้า และพันธมิตรทางการค้า บริการสนับสนุนอื่น สิ่งสำคัญ คือการวิจัยตลาด การสร้างเนื้อหา และการบริการอื่น ๆ เพิ่มเติม ไม่ว่าจะเป็น ระบบการชำระ การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบรักษาความปลอดภัย

Exhibit 1.2 A Framework for Electronic Commerce

E-business

ความหมาย E-business E-business: ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วย การซื้อ-ขาย สินค้าและบริการ การบริการลูกค้า พันธมิตรทางธุรกิจ และความร่วมมือกันขององค์กร การให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับธุรกิจในองค์กร

Type of E-Commerce

Two major Types of E-Commerce Business-to-Consumer (B2C) : การขายสินค้าออนไลน์ระหว่างบริษัทกับลูกค้า Business-to-Business (B2B): การขายสินค้าออนไลน์ระหว่างบริษัทกับบริษัท

Classification of EC by Transactions or Interactions

Business-to-Consumer (B2C) : เป็นธุรกรรมที่กระทำระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภคโดยตรง Business-to-Business (B2B): เป็นธุรกรรมที่กระทำระหว่างธุรกิจด้วยกันเอง Consumer-to-Business (C2B): เป็นรูปแบบ ของบุคคลทั่วไปที่ใช้ Internet เพื่อขายสินค้า/บริการให้กับ องค์กร สามารถค้นหาผู้ขายเลือกสินค้าและบริการตามที่ ต้องการ Business-to-Business-to-Consumer(B2B2C): เป็นรูปแบบธุรกิจ E-commerce ที่บริษัทในเครือส่งสินค้า/บริการ ไปยังลูกค้าของตน

Business-to-Government(B2G): เป็นธุรกรรมระหว่างธุรกิจกับภาครัฐ consumer-to-consumer (C2C): เป็นรูปแบบของธุรกิจ E-commerce ที่มีการขายตรงระหว่างกลุ่มผู้ซื้อลูกค้า หรือบุคคลทั่วไป Business-to-Government(B2G): เป็นธุรกรรมระหว่างธุรกิจกับภาครัฐ Government-to-Citizens (G2C) : เป็นรูปแบบที่หน่วยงานรัฐซื้อ-ขาย สินค้า/บริการ หรือข้อมูล กับองค์กรเอกชนหรือบุคคลทั่วไป Business-to-employees (B2E): E-commercemodel ที่มีการขายสินค้า/บริการ หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารของคนในองค์กรหรือพนักงาน E-tailing: online retailing, usually B2C ธุรกิจค้าปลีกที่ออนไลน์ใช้ B2C

Mobile commerce (M-commerce): เป็นรูปแบบธุรกรรมการค้าในระบบไร้สาย (Wireless) เช่นโทรศัพท์มือถือ Location-based commerce (Lcommerce): เป็น m-commerce ที่มีเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม หรือเฉพาะเวลา เฉพาะที่ Collaborative commerce (C-commerce): E-commerce model เป็นการรวมกลุ่มเฉพาะธุรกิจ Intrabusiness EC: E-commerce ที่มีการ แลกเปลี่ยนสินค้า/บริการ หรือข้อมูลข่าวสารในองค์กร

E-learning: E-Commerce Model ที่นำมาใช้ในการ เรียนออนไลน์ เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา Exchange (electronic): ตลาดอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผู้ซื้อ และผู้ขายจำนวนมาก Exchange-to-exchange (E2E): E-Commerce Model ลักษณะตลาดสองตลาดที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน E-government: E-commerce model การแลกเปลียนสินค้า/บริการ หรือข้อมูลข่าวสาร ระหว่างภาครัฐกับประชาชน

The Dimension of Electronic Commerce

Pure E-commerce คือ การทำธุรกรรม E-commerce ในรูปแบบดิจิตอล ทุกขั้นตอน การสั่งซื้อสินค้า/บริการ กระบวนการชำระเงิน การส่งมอบสินค้า เช่น การซื้อขายโปรแกรม เพลง เกมส์

Partial E-commerce การทำ ธุรกรรม E-commerce ที่บางขั้นตอนยังใช้ กระบวนการทางกายภาพ เช่น การสั่งซื้อตำรา

Virtual (pure-play) Virtual (pure-play) organizations ไม่มีหน้าร้านจริง สินค้าและการจัดส่งเป็นดิจิตอล

Exhibit 1.1 The Dimensions of Electronic Commerce

Brick-and-Mortar organizations เป็นรูปแบบธุรกิจแบบเก่า มีร้านค้าจริงขายเงินสด/เครดิต ลูกค้าไปรับสินค้าที่หน้าร้าน Click-and-mortar organizations เป็น รูปแบบธุรกิจที่มีจริงแต่นำ EC มาช่วย การชำระเงินผ่านธนาคาร และไปรับสินค้าที่หน้าร้าน

Electronic market (E-marketplace) เป็นสถานที่ซึ่ง ผู้ซื้อ-ผู้ขาย จะมาแลกเปลี่ยนสินค้า/บริการ/เงิน หรือข้อมูลซึ่งกันและกัน เช่นเป็นร้านค้าเล็กๆ หรือ Shopping mall Interorganizational informationsystems (IOSs) : ในลักษณะของงานประจำมีการทำรายการ และมีการติดต่อกันของข้อมูลข่าวสารระหว่างองค์กร Intraorganizational information systems เป็นการกระทำในแต่ละองค์กร หรือภายในองค์กร

Computer environments Internet: ระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อทั่วโลก Intranet: ระบบเครือข่ายเชื่อมต่อภายในองค์กร Extranet: ระบบเครือข่ายที่ธุรกิจใช้เชื่อมต่อกันเฉพาะในเครือข่ายธุรกิจเดียวกัน เช่นธุรกิจในเครือเจริญโภคภัณฑ์

Business Models

Business models: วิธีการทางธุรกิจที่จะทำให้ธุรกิจสามารถสร้างรายได้ Examples: Name your price : เป็นบริการกำหนดราคาที่คุณต้องการ Find the best price : ราคาที่ดี เช่นจองตั๋วช่วงเวลาเช้า Dynamic brokering : มีการประมูล Affiliate marketing : มีเบรนเนอร์แล้วส่งต่อลูกค้าให้

Business Plans Business plan: แผนธุรกิจ เป็นเอกสารที่เขียนเกี่ยวกับเป้าหมายของธุรกิจ ขั้นตอนวิธีการดำเนินการของธุรกิจ

Business case Business case: เอกสารที่ผู้จัดการใช้ในการตั้งงบประมาณการเงินพิเศษขึ้นมาใช้เฉพาะแต่ละโครงการ

Revenue model Revenue model: รูปแบบของรายได้ของบริษัทมาจาก Sales : ขายสินค้า Transaction fees : ค่าธรรมเนียมในการทำธุรกรรม Subscription fees : ค่าธรรมเนียมจากการสมัครสมาชิก Advertising : ค่าโฆษณา Affiliate fees : ค่าธรรมเนียมในการแนะนำลูกค้า ,link Other revenue sources: รายได้ในรูปแบบอื่นๆ

Value proposition Value proposition: การเพิ่มมูลค่าให้กับธุรกิจโดย EC search and transaction cost efficiency : มี web search ที่รวดเร็ว สามารถสร้างรายได้จากการโฆษณา Complementarities : เสริมในบริการอื่นเข้าไป เช่นขายรถ+ ไฟแนนซ์ lock-in : การดึงลูกค้าไว้กับตน Novelty : สร้างนวตกรรม aggregation and interfirm collaboration : ความร่วมมือระหว่างองค์กร ร่วมมือดี สร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับองค์กร

Exhibit 1.6 Common Revenue Models

Typical Business Models in E-Commerce

Typical Business Models in E-Commerce 1. Online direct marketing : ธุรกิจขายตรง 2. Electronic tendering systems : ธุรกิจการประมูล 3. Name your own price: เป็นรูปแบบที่ผู้ซื้อตั้งราคาไว้ว่าต้องการซื้อในราคาที่เขาเต็มใจจ่าย และผู้ขายจะหาสินค้า/บริการตามราคา 4. Affiliate marketing: มีการส่งลูกค้าต่อไปให้กับบริษัท อื่น ในเว็บไซต์ที่ลิงค์ 5. Viral marketing: เป็นรูปแบบการทำตลาดที่มีการบอกต่อกัน แบบปากต่อปาก

Typical Business Models in E-Commerce 6. Group purchasing: การซื้อสินค้าเป็นจำนวนมากจะได้ส่วนลด 7. SMEs: ผ่านช่องทางธุรกิจ SMEs 8. Online auctions : การประมูลสินค้าออนไลน์ 9. Product and service customization : การสร้างสินค้า/บริการ ตามที่ผู้ซื้อต้องการ 10. Electronic marketplaces and exchanges : ทำการตลาดเพื่อให้ผู้ซื้อ-ผู้ขาย พบปะแลกเปลี่ยนสินค้า/บริการ 11. Value-chain integrators : สร้างมูลค่าเพิ่ม 12. Value-chain service providers : สร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับการบริการ เช่น link bank

Typical Business Models in E-Commerce 13. Information brokers: เป็นนายหน้าในการจัดข้อมูล ข่าวสารให้ 14. Bartering : การแลกเปลี่ยนสินค้า/บริการกัน 15. Deep discounting : นำสินค้าลดราคามาขาย 16. Membership : จัดทำสมาชิก 17. Supply chain improvers : ปรับปรุงกระบวนการ

Supply Chain Improver

Supply Chain Improver Supply Chain Improver : การปรับปรุกระบวนการทำงานของธุรกิจ Orbis Group changes a linear physical supply chain to an electronic hub Traditional process in the B2 advertising field

Example of Supply Chain Improver (cont.) ProductBank simplifies this lengthy process changing the linear flow of products and information to a digitized hub

Benefits of EC

Benefits to EC Benefits to organizations Benefits to consumers Benefits to society

Benefits of EC Benefits to Organizations Lower Communication Costs Efficient Procurement Improved Customer Relations Up-to-Date Company Material No City Business Permits and Fees Other Benefits Global Reach Cost Reduction Supply Chain Improvements Extended Hours Customization New Business Models Vendors’ Specialization Rapid Time-to-Market

Benefits of EC Benefits to Consumers Instant Delivery Ubiquity Information Availability Participation in Auctions Electronic Communities No Sales Tax Ubiquity More Products and Services Customized Products and Services Cheaper Products and Services

Benefits of EC Benefits to Society Telecommuting Higher Standard of Living Homeland Security Hope for the Poor Availability of Public Services

Limitations of EC

Limitations of EC 1. Technology Limitations 2. Non Technology Limitations

Technology Limitations 1. Brand width: ต่ำ ไม่มีความปลอดภัย และความน่าเชื่อถือน้อย 2. Telecommunication :อุปกรณ์สื่อสารน้อย 3. Software: ซอฟต์แวร์ไม่ได้มาตรฐาน 4. ยากที่จะรวม E-Commerce กับ Database 5. Web server ต้องมี networkที่ดี 6. Internet บางที่ไม่มี 7. ต้องมี Automated warehouse อัตโนมัติ

Non Technology Limitations 1. ผู้ซื้อกลัวเรื่องความปลอดภัย และนโยบายการขาย 2. Trust: ความไว้เนื้อเชื่อใจ 3. ไม่มีกฏหมายรองรับ 4. ไม่มีกฏหมายสากล 5. ยากที่จะวัดกำไรได้ 6. ลูกค้าต้องการ เห็นสินค้า และเลือกสินค้าด้วยตนเอง 7. ลูกค้าไม่เชื่อในสิ่งที่ไม่มีเอกสาร 8. จำนวนคนเข้ามาไม่สามารถบอกได้ 9. มีกลโกง 10. ลูกค้าไม่กล้าร่วมลงทุนในธุรกิจ .COM

Barriers of E-Commerce Security Trust and risk Lack of qualified personnel Lack of business models Culture User authentication and lack of public key infrastructure Organization Fraud Slow navigation on the Internet Legal issues

The Digital Revolution

The Digital Revolution Digital economy: เศรษฐกิจในยุคปฏิวัติของดิจิตอล มีการนำเทคโนโลยี และระบบอินเทอร์เน็ตมาให้ สร้างเศรษฐกิจใหม่ขึ้นมาที่เรียกว่า “Web economy” คนหรือองค์กรสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้เร็ว มีการค้นหาข้อมูลผ่านเว็บ สิ่งที่เกิดในยุคปฏิวัติดิจิตอล มีสินค้าในรูปดิจิตอลจำนวนมาก ลูกค้า-บริษัท สามารถทำรายการทางการเงินโดยดิจิตอล Microprocessors and networking ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของสินค้า

New Business Environment

New Business Environment ลูกค้ามีอำนาจการต่อรองสูงขึ้น มีการเร่งสร้างนวตกรรมต่างๆขึ้นมามากมาย เทคโนโลยีมีความก้าวหน้าขึ้น มีธุรกิจที่หลากหลายเนื่องจากเทคโนโลยีที่ซับซ้อนขึ้น

Characteristics in the business environment

Characteristics in the business environment มีธุรกิจจำนวนมากมีปัญหา และก็มีธุรกิจที่เป็นโอกาสดี Stronger competition : มีการแข่งขันกันสูงขึ้น Need for organizations to make decisions more frequently : องค์กรต้องตัดสินใจบ่อยครั้งขึ้น A larger scope for decisions because more actors : มีขอบเขตการตัดสินใจกว้างขึ้น เพราะมีหลายปัจจัยมาเกี่ยวข้อง More information and/or knowledge needed for making decisions : มีข้อมูลจำนวนมาก หรือต้องใช้ความรู้ในการตัดสินใจ

Environment-Response- Support Model Critical response activities: ผลกระทบที่จัดเป็น วิกฤต การค้าแบบเดิมต้องถูกปิดไป เกิดนวตกรรมใหม่ๆ ในสินค้า/บริการเพิ่มขึ้น

Exhibit 1.4 Major Business Pressures and the Role of EC

Major Business Pressures แรงกดดันทางการตลาดและเศรษฐกิจ แรงกดดันทางสังคมและสิ่งแวดล้อม แรงกดดันทางเทคโนโลยี

แรงกดดันทางการตลาดและเศรษฐกิจ การแข่งขันกันสูง เศรษฐกิจทั่วโลก ความร่วมมือระหว่างประเทศ ต้นทุนแรงงานต่ำในบางประเทศ ลูกค้ามีอำนาจการตัดสินใจซื้อสินค้ามากขึ้น

แรงกดดันทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ลักษณะงานที่เปลี่ยนไป รัฐบาลมีกฏ ระเบียบ รัฐบาลจ้างเอกชน เพิ่มความสำคัญของ จริยธรรมและกฏหมาย นโยบายเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว

แรงกดดันทางเทคโนโลยี เทคโนโนโลยีเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว มีนวตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้น สารสนเทศมากเกินไป ต้นทุนด้านเทคโนโลยีลดลง

Organizational Responses Strategic systems :ต้องปรับกลยุทธ์องค์กร Continuous improvement efforts and business process reengineering—including business process reengineering (BPR): ต้อง ปรับปรุงรูปแบบและกระบวนการทางธุรกิจ Customer relationship management (CRM) ต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า Operational CRM : เก็บข้อมูลลูกค้า Analytical CRM : วิเคราะห์กลุ่มลูกค้า Collaborative CRM: ทำธุรกิจร่วมกันกับลูกค้า

Organizational Responses(Cont) Business alliances : หาพันธมิตรทางธุรกิจ Electronic markets : ทำการตลาด Reductions in cycle time and time-to market Cycle time reduction: ลดระยะเวลาในกระบวนการผลิตสินค้าก่อนที่จำนำมาสู่ตลาดให้สั้นลง

Organizational Responses(Cont) Empowerment of employees: กระจายอำนาจ ให้หน่วยงานต่างๆ Supply chain improvements : ปรับปรุง สายการผลิต Mass customization: make-to-order ผลิตสินค้าตามความต้องการของลูกค้า ในจำนวนมากๆ Mass customization: Production of large quantities of customized items

Organizational Responses(Cont) Intrabusiness: from sales force automation to inventory มีการปรับปรุงระหว่าง ธุรกิจเดียวกัน จากระบบสินค้าคงคลังออโตเมติก Knowledge management (KM): การบริหารจัดการในองค์ความรู้ที่ดี มีการอัพเดตข้อมูล มีการอบรมการใช้งาน

Exhibit 1.8 The Networked Organization

Managerial Issues Is it real? Why is B2B e-commerce so attractive? There are so many EC failures—how can one avoid them? How do we transform our organization into a digital one? How should we evaluate the magnitude of business pressures and technological advancement? What should be my company’s strategy toward EC? What are the top challenges of EC?

Summary Definition of EC and description of its various categories. The content and framework of EC. The major types of EC transactions. The role of the digital revolution. The role of the business environment as an EC driver.

Summary The major EC business models. Benefits of EC to organizations, consumers, and society. Limitations of EC. Contribution to organizations responding to environmental changes.