ทิศทางและการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสภากาชาดไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

หน้าที่ความรับผิดชอบ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
Graduate School Khon Kaen University
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเลขานุการกรม
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
โครงการอาสาสมัคร ดร. ดนัย มิลินทวณิช
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การบริหารงานงบประมาณ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
- ไม่ต้องกันเงินใช้มาตรการ ที่ นร 0506/ว 123 ลว. 14 มิถุนายน 2553
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ และเตรียมการอบรมการใช้งาน
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
สรุปการประชุม เขต 10.
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
. ประโยค คาถา ที่คาไว้ในใจ ม ปลูกข้าว แหล่งไหนดีครับ
ITกับโครงการ Food safety
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2553
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานความก้าวหน้า เทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางและการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสภากาชาดไทย ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ กรรมการสภากาชาดไทย 9:00-10:00 น. 1 สิงหาคม 2554

นโยบาย กำลังคน การจัดองค์กร และแผนกลยุทธ์: ความจำเป็นพื้นฐานที่หลีกเลี่ยงมิได้

ความเป็นมาของ IT ในสภากาชาดไทย ภารกิจหลักของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามข้อบังคับของสภากาชาดไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2549 หมวดที่ 7 กิจการของสภากาชาดไทย ข้อ 42 สัตต: มีหน้าที่ “พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสภากาชาดไทย เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยง ให้คำปรึกษา และร่วมพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานอื่นๆ รวมทั้งมีหน้าที่พัฒนาบุคลากรและผู้บริหารให้มีศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการดำเนินงาน และสามารถใช้เป็นสื่อการประชาสัมพันธ์ได้ทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งต่างประเทศ” 3

โครงสร้างการบริหารงานด้าน ICT สภากาชาดไทย เลขาธิการสภากาชาดไทย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ โครงสร้างการบริหารงานด้าน ICT สภากาชาดไทย คณะกรรมการพัฒนานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ประสานงานหลักด้าน ICT มีผู้ประสานงานด้าน ICT ในแต่ละหน่วยงาน 23 หน่วยงานในสภากาชาดไทย IT Steering ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สภากาชาดไทย ชั้น 10 อาคารเทิดพระเกียรติฯ ถนนอังรีดูนังต์ กรุงเทพฯ http://www.redcross.or.th/aboutus/bureau/it โดยมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ เสนอนโยบาย ข้อเสนอแนะ วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาและประสานงานในการผลักดันระบบงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในภาพรวมของสภากาชาดไทยและในระดับหน่วยงานภายในของสภากาชาดไทย เพื่อสนับสนุนงานตามวิสัยทัศน์และพันธกิจของสภากาชาดไทย เสนอนโยบายและข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการกำลังบุคลากรและงบประมาณด้าน ICT ที่เพียงพอต่อการพัฒนางานด้าน ICT ของสภากาชาดไทย ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาระบบงานด้าน ICT ตามแผนแม่บท และนำผลของการประเมินมาจัดทำเป็นข้อเสนอแนะ เพื่อใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานด้าน ICT รวมทั้งแผนแม่บท ICT ในช่วงต่อไป ดำเนินงานด้าน ICT ตามที่ได้รับมอบหมายจากสภากาชาดไทย 4

โครงสร้างอัตรากำลังคน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สภากาชาดไทย ข้อมูล ณ 1 มี.ค. 2554 ศูนย์ IT ได้รับอัตราค่าตอบแทนใหม่ 10 คน เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2554 รอท่านเลขาธิการอนุมัติสุดท้าย  อัตรารวม 21 คน ขณะนี้มี 17 คน อยู่ระหว่างสรรหา 4 คน ผู้อำนวยการ ต.ค.53 รองผู้อำนวยการ กำลังสรรหา กลุ่มงานแผนและพัฒนา ฝ่ายบริหาร งานทั่วไป กลุ่มงานคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย กลุ่มงานพัฒนาระบบสารสนเทศ รวม 5 คน รวม 6 คน รวม 4 คน รวม 4 คน จะรับเพิ่มอีก 3 ตำแหน่ง จะรับเพิ่มอีก 1 ตำแหน่ง จะรับเพิ่มอีก 1 ตำแหน่ง  + หัวหน้าฝ่าย + บัญชี + นักการ + หัวหน้ากลุ่มงาน + นโยบายและแผน + ระบบงานคอมฯ + ระบบงานคอมฯ 2 คน กำลังสรรหา เม.ย.52 กำลังสรรหา + หัวหน้ากลุ่มงาน + ระบบงานคอมฯ + ช่างเทคนิค มิ.ย.52 + หัวหน้ากลุ่มงาน + ระบบงานคอมฯ     ส.ค.53 ต.ค.52 ก.ค.52 ส.ค.52    พ.ย.52 ก.ค.52 ก.พ.52   กำลังสรรหา ต.ค.53 มีอยู่เดิม 2 คน มีอยู่เดิม 0 คน มีอยู่เดิม 2 คน มีอยู่เดิม 2 คน ขณะนี้คน IT ของศูนย์ฯทุกคนยังคงได้รับค่าตอบแทนฯ ตามระเบียบฯเดิม พ.ศ. 2537 กำลังจะขอตามระเบียบใหม่  =คนใหม่ที่รับแล้ว (ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา) สรุปรวมเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ ทั้งสภากาชาดไทย รวม 11 หน่วยงาน รวมทั้งหมดประมาณ 33 คน 5 5

การบริหารเพื่อแปลงแผนให้เป็นผล: การประสานงานระหว่างศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และหน่วยงานในกาชาด

คณะกรรมการพัฒนานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ การทำงานที่เป็นระบบสม่ำเสมอตามแผนกลยุทธ์และประเมินผลได้ เลขาธิการสภากาชาดไทย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ โครงสร้างการบริหารงานด้าน ICT สภากาชาดไทย คณะกรรมการพัฒนานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ประสานงานหลักด้าน ICT มีผู้ประสานงานด้าน ICT ในแต่ละหน่วยงาน 23 หน่วยงานในสภากาชาดไทย IT Steering

เกณฑ์การพิจารณา ความพร้อมของหน่วยงานด้าน ICT รายละเอียดที่ต้องนำเสนอเพื่อพิจารณา โครงการ ICT สอดคล้อง สนับสนุนยุทธศาสตร์ตามแผนแม่บท ICT และยุทธศาสตร์ของสภากาชาดไทย (แผน ICT) (ที่สนับสนุนภารกิจหน่วยงาน) โครงการ ICT มีเป้าหมาย ตัวชี้วัด (KPI) หรือมาตรฐานการให้บริการ (SLA) โครงการ ICT มีงบประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโครงการที่ชัดเจน (แผนคน) มี Roadmap แผนปฏิบัติการฯ ด้าน ICT ของหน่วยงาน (5 ปี) การเชื่อมโยงกับ KPI ขององค์กร (จำเป็นต้องได้รับการผลักดันจากผู้บริหารของหน่วยงาน) 10

งาน เงิน คน ทิศทางและความก้าวหน้าในการผลักดัน ICT ของ 23 หน่วยงานในสภากาชาดไทย มีความก้าวหน้าด้าน ICT (ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา) งาน 1.ศูนย์บริการโลหิตฯ Front Office หน่วยงานที่ต้องพัฒนาระบบ ICT 8.3สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ 2.ร.พ.สมเด็จฯ 12.วิทยาลัยพยาบาล 5 หน่วยงานใหญ่ และ ต้องปฏิรูประบบ ICT 3.สำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ 13.สำนักงานจัดหารายได้ 6.สำนักงานจัดการทรัพย์สิน 14.ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ 4.ร.พ.จุฬาฯ 7.ศูนย์ดวงตา 15.สำนักงานกลาง 5.สถานเสาวภา 16.ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู 8.1สำนักบริหารกิจการเหล่ากาชาด 17.มูลนิธิสงเคราะห์เด็กฯ หน่วยงานที่ต้องพัฒนาระบบ ICT 8.2สำนักสารนิเทศและสื่อสารองค์กร 8.4.สำนักวิเทศสัมพันธ์ 8.สำนักงานบริหาร 9.ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ 18.สำนักโภชนาการ สวนจิตรลดา 10.สำนักงานอาสากาชาด 19.ศูนย์ฝึกอบรมปฐมพยาบาลฯ 11.สำนักงานยุวกาชาด 20.สำนักงานตรวจสอบ เงิน กำลังผลักดันแต่ละหน่วยงาน ตามลำดับ คน Back Office ระบบการเงิน งบประมาณ จัดซื้อ คลังพัสดุ บริจาคเงิน ครุภัณฑ์ ระบบบุคลากร ประเมินผล สมัครงาน ฝึกอบรม เงินเดือน สวัสดิการ 21.สำนักงานการคลัง โครงสร้างพื้นฐาน ICT 22.สำนักงานการเจ้าหน้าที่ อุปกรณ์ระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ เน็ตเวิร์ก อีเมล์ เว็บไซต์ อินทราเน็ต ระบบสารบรรณ คนIT 11 23.ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูล ณ 1 มิ.ย. 2554

23 หน่วยงานในสภากาชาดไทย ยุทธศาสตร์ที่ 5: พัฒนาบุคลากรด้าน IT การปรับค่าตอบแทนคน IT ทั้งสภากาชาดไทย ขณะนี้มีศูนย์ IT ได้ดำเนินการครบรอบการพิจารณาแล้วทั้ง 3 ขั้นตอนเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2554 ขณะนี้อยู่ระหว่างรอท่านเลขาธิการอนุมัติให้คน IT 10 คนได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบฯใหม่ ส่วนหน่วยงานอื่นๆ ได้ชี้แจงให้รับทราบแล้วเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2553 ส่งชื่อหน่วยงานและบุคลากร ที่มีความพร้อมด้าน ICT คาดจัดสัมมนาคน IT หลังเดือนมิถุนายน 54 คณะกรรมการพัฒนานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศสภากาชาดไทยร่วมกับ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะกรรมการประเมินค่างานและกำหนดคุณสมบัติของตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ผู้สมควรได้รับเงินค่าวิชาชีพ เงินค่าประสบการณ์ และเงินเพิ่มพิเศษรายปี 2 เสนอแผนโครงการ ตัวชี้วัด(KPI) มาตรฐานให้บริการ(SLA) ด้าน ICT การจัดองค์กรและความพร้อม ด้านกำลังบุคลากร ส่งรายชื่อบุคลากรด้าน ICT ขอรับเงินค่าตอบแทนในอัตราใหม่ 1 3 ป.ตรี เริ่มที่ 15,440 บาท ++ ป.โท เริ่มที่ 20,200 บาท ++ (เงินเดือน + ค่าครองชีพ1,500 + ค่าวิชาชีพ(ป.ตรี 6,000 ป.โท 9,000)) 23 หน่วยงานในสภากาชาดไทย (ยังไม่รวบประสบการณ์ ปีละ 1,000 บาท ) ได้ปรับแบบฟอร์มแผน เช่น ความสอดคล้องภารกิจหลักและการ Outsource 5 ยุทธศาสตร์ ICT ของสภากาชาดไทย ระเบียบสภากาชาดไทยว่าด้วยการกำหนดเงินค่าวิชาชีพ เงินค่าประสบการณ์ และเงินเพิ่มพิเศษ สำหรับเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2552 12

ตัวอย่างระบบที่กำลังดำเนินการ

การพัฒนาระบบ ICT เพื่อสนับสนุน ระบบการเงิน งบประมาณ บัญชี จัดซื้อ คลังพัสดุ ข้อมูล ณ 16 กรกฎาคม 2554

ประเด็นในการพัฒนาระบบ ICT ในหน่วยงาน การตั้งคณะทำงาน การศึกษาข้อมูล ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาและความคุ้มค่าในการลงทุน การปรับกระบวนการทำงาน การจัดหาและพัฒนาระบบ การทดสอบระบบ การตรวจรับ

- ร่าง - โครงสร้างการบริหารและผลักดัน ยุทธศาสตร์ที่ 2: ยกระดับการทำงาน - ร่าง - โครงสร้างการบริหารและผลักดัน โครงการพัฒนาระบบการเงินฯ สภากาชาดไทย ข้อมูล 31 พ.ค. 2554 กำลังรวบรวมรายชื่อเพื่อเสนอและแต่งตั้งคณะทำงานต่างๆ ก่อนเริ่มโครงการ โดยเร็ว เลขาธิการสภากาชาดไทย - การตรวจสอบภายใน - การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการอำนวยการพัฒนาระบบการเงินฯ (ICT and Finance Steering) ศ.คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์ (ที่ปรึกษา) ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ (ประธาน) นางสาววิลาวรรณ วนดุรงค์วรรณ (รอง) ผอ.สำนักงานการคลัง คณะทำงานภาพรวม การพัฒนาระบบการเงินฯ นายพรชัย ทิมปาวัฒน์ (ประธาน) ระบบงบประมาณ(ในงบ) ระบบงบประมาณ(นอกงบ) ระบบบัญชี ระบบการเงิน ระบบจัดซื้อ-พัสดุ ระบบสินทรัพย์ถาวร ระบบเงินเดือน ค่าจ้างค่าตอบแทน เชื่อมโยงระบบการเงิน(ในเครือข่ายเดียวกันและต่างเครือข่าย) ระบบแปลงข้อมูลและการนำข้อมูลเข้าระบบ ระบบคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย กำลังเตรียมตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานด้านการตั้งและใช้รหัสพัสดุ และรหัสในทุกด้าน เช่น รหัสบริการ รหัสโครงการ รหัสครุภัณฑ์ เป็นต้น เพื่อเป็นมาตรฐานของสภากาชาดไทย และ เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงและออกรายงานได้อย่างเป็นระบบ 16

สรุปฟังก์ชันของระบบใหม่ทั้งหมด ชื่อระบบ (จำนวนหน้าจอโปรแกรม , รายงาน) (โดยประมาณจากเนื้องานใน TOR) 3 1 ระบบการเงินฯ ทั้งหมด ระบบบัญชี-การเงิน 1.ระบบงบประมาณ (82,40) ทะเบียนเจ้าหนี้(13,9) บริหารการลงทุน (3,1) ทะเบียนลูกหนี้ทั่วไป (20,13) การรับบริจาค (26,15) 2.ระบบจัดซื้อ (80,47) ลูกหนี้เงินกู้สวัสดิการ (10,6) 3.ระบบพัสดุ (79,57) เชื่อมโยงระบบ SAP (17,7) ลูกหนี้เงินยืม (12,9) เชื่อมโยงระบบงาน PCC (8,5) 4.ระบบสินทรัพย์ถาวร (74,40) ทะเบียนเงินสดย่อย (10,3) 5.เงินเดือน-ค่าตอบแทน- ใบสำคัญ (112,55) ทะเบียนเงินยืมสภาฯ (11,6) ระบบจ่าย (30,20) 6.ระบบบุคลากร (14,18) ทะเบียนเช็คจ่าย (12,7) 7.ระบบบัญชี-การเงิน (390,233) ควบคุมการเบิกใบเสร็จ (4,1) ระบบการรับเงิน (73,48) รวมทั้งหมด (831,490) ระบบธนาคาร (16,8) 2 (#หน้าจอโปรแกรม,#รายงาน) ระบบบัญชี (86,48) ทะเบียนกองทุน (18,18) ทะเบียนสมาชิก (17,7) 17 ทะเบียนผู้รับมอบอำนาจ (4,2)

ประโยชน์ที่ได้รับในการพัฒนาระบบการเงินฯ ใหม่ มีระบบการเงินฯ (Back Office) รองรับทุกหน่วยงาน โดยรองรับหน่วยงานที่ยังไม่มีระบบมากกว่า 15 หน่วยงาน และเหล่ากาชาดทุกจังหวัด รวมทั้งการรับบริจาคเงินจากทุกด้าน รองรับการเชื่อมต่อระบบการเงินฯที่มีอยู่เดิมหรือใหม่ได้ผ่าน Excel และต่อยอดให้แบบอัตโนมัติได้ รวมทั้งเชื่อมโยงระบบบุคลากรเดิมได้ เชื่อมโยงบูรณาการข้อมูลทุกหน่วยงานเพื่อใช้งานได้ทันที วิเคราะห์ข้อมูลการเงินฯในภาพรวมได้ทันที (MIS) ตรวจสอบสถานะ/ขั้นตอนการดำเนินงานด้านการเงินฯ เช่น การจัดซื้อ การจ่ายเงิน การอนุมัติในขั้นตอนต่างๆ ได้ทันที ตรวจสอบสถานะพัสดุ ของบริจาค วันหมดอายุ และมีระบบบริหารจัดการพัสดุ ร่วมกับการใช้ Bar Code ดูแลระบบที่ Server จุดเดียวได้สะดวก และใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลาเนื่องจากเป็น Web Based สอดคล้องตามระเบียบด้านการเงินฯใหม่ของกาชาด และมาตรฐานการเงินฯที่บริษัท KPMG ได้แนะนำ ใช้ผังบัญชีใหม่ได้โดยสะดวก

ระบบงบประมาณ การเงินบัญชี (3 รุ่น 54 ชม.,ต่อรุ่น) 105 คน หลักสูตรอบรมงบประมาณ บัญชี จัดซื้อ คลังพัสดุ(22 รุ่นๆละประมาณ 30 คนรวม 775 คน) ณ สภากาชาดไทย ระบบงบประมาณ การเงินบัญชี (3 รุ่น 54 ชม.,ต่อรุ่น) 105 คน ระบบงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (6 รุ่น,12 ชม.ต่อรุ่น) 220 คน ระบบงานพัสดุ (6 รุ่น,12 ชม.ต่อรุ่น) 220 คน ระบบงานสินทรัพย์ถาวร (6 รุ่น,15 ชม.ต่อรุ่น) 220 คน การใช้และดูแลระบบงาน (1 รุ่น,6 ชม.ต่อรุ่น) 10 คน แผนการสรรหาเจ้าหน้าที่ประจำเหล่ากาชาดปีละ 15 คนใน 5 ปี กำลังสรรหาและสัมภาษณ์ 15 จังหวัด จังหวัดละ 1 คน และจะได้เปิดรับสมัครใหม่เพิ่มขึ้นปีละ 15 คนต่อเนื่องจนครบทุกจังหวัด ปีที่ 1 มีดังนี้ อยุธยา สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี นครราชสีมา อุดรธานี อุบลราชธานี นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี ภูเก็ต ชลบุรี

การพัฒนาระบบ ICT สนับสนุนระบบบริการโลหิตและระบบการเงินฯ ใหม่ของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 1,2,3,4,5 งบประมาณพัฒนารวม 103 ล้านบาทและงบบำรุงรักษาระบบ 48 ล้านบาท (4ปี+warranty 1 ปี) ตั้งแต่ปี 2554 – 2558 สนับสนุนงบทั้งหมดโดยสภากาชาดฝรั่งเศสรวม 151 ล้านบาท กำลังเริ่มอบรมผู้ใช้งานระบบใหม่และทดสอบในส่วนต่างๆ คาดเริ่มใช้งานบางระบบในพื้นที่ในกรุงเทพฯ ภายใน 2554 นี้ และติดตั้งระบบครบทั้ง 12 ภาคในช่วงกลางปี 2555 ทั้งนี้เนื่องด้วยมีการเปลี่ยนสภาปัตยกรรมระบบจากเดิมแบบ Distributed System เป็นแบบ Centralized System รวมทั้งรายละเอียดเชิงเทคนิคต่างๆ และการปรับปรุงข้อมูลเดิมให้ถูกต้อง ส่งผลให้ต้องเลื่อนเวลาเริ่มใช้งานระบบ (Go Live) จากเดิม(แผนเดิมกำหนด เมษายน 2554) ระบบทั้งหมดประกอบด้วย 3 ระบบหลัก คือ 1.ระบบบริการโลหิต (Hematos IIG) 2.ระบบการเงินฯใหม่ (SAP B1) 3.ระบบรายงาน (YellowFin) ปัจจุบัน เริ่มใช้งานระบบใหม่ เลือกแบบ Centralized System เตรียมโอนย้ายข้อมูลเดิม ติดตั้งยัง 12 ภาคบริการโลหิต ส่งHardware ทดสอบระบบ มี.ค.53 ม.ค.54 มิ.ย. ม.ค.55 มิ.ย. 20 28เม.ย.54 พิจารณารูปแบบ Centralized

1 2 4 3 เว็บไซต์แสดงจุดช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากสภากาชาดไทย ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ ICT สนับสนุนหน่วยงานในสภากาชาดไทย ยุทธศาสตร์ที่ 1: พัฒนาระบบฐานข้อมูล เว็บไซต์แสดงจุดช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากสภากาชาดไทย (สำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ,เหล่ากาชาด,สำนักสารนิเทศฯ,อาสากาชาด,ศูนย์IT) disaster.redcross.or.th 1 ภัยต่างๆ คลิกจาก หน้าแรก 2 ย้อนดูช่วงเวลา ในการช่วยเหลือได้ จำนวนครั้งช่วยเหลือสูงช่วงน้ำท่วม เชื่อมโยง ระบบอาสาสมัคร 4 3 ดูจุดที่ไปช่วยเหลือประจำวันล่าสุดได้ รวม 441 จุดที่ได้ช่วยเหลือและแจ้งขอรับความช่วยเหลือทั้งหมด ด้านภัยหนาว อุทกภัย อัคคีภัย ภัยสู้รบ แผ่นดินไหว 21

เว็บไซต์สำนักบริหารกิจการเหล่ากาชาด ยุทธศาสตร์ที่ 1:พัฒนาระบบฐานข้อมูล ยุทธศาสตร์ที่ 2: ยกระดับการทำงาน การพัฒนาระบบ ICT สนับสนุน สำนักบริหารกิจการเหล่ากาชาดสภากาชาดไทยปัจจุบัน สำนักบริหารกิจการเหล่ากาชาด 1. ได้พัฒนาระบบลงทะเบียนงานชุมนุมกาชาดที่จะจัดในเดือนกรกฎาคม 2554 มีผู้ลงทะเบียนแล้วประมาณ 3,793 คน (14 มิ.ย. 54) 2. ได้พัฒนาระบบแผนงานโครงการและติดตามงานและงบประมาณของเหล่ากาชาดเบื้องต้นและได้ส่งข้อมูลผ่านระบบแล้วในทุกจังหวัดรวม 75 จังหวัด ซึ่งต่อไปจะได้บูรณาการร่วมกับระบบการเงินฯ ของสภากาชาดไทยและระบบแผนงานโครงการและยุทธศาสตร์ของสภากาชาดไทยต่อไป 3. ปัจจุบันคลังเก็บสิ่งของ ณ เหล่ากาชาดปัตตานีและภูเก็ต ในเบื้องต้นมีการบันทึกและบริหารคลังโดยมีสำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ ช่วยดูแลซึ่งได้ให้เหล่ากาชาดใช้โปรแกรม MS Excel บันทึกและส่งให้สถานีกาชาดสิรินธร (ทุ่งสง) เพื่อบันทึกในโปรแกรมระบบการเงินฯ ของสำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ คาดว่าจะได้เปลี่ยนมาใช้ระบบการเงินฯ ของสภากาชาดไทยใหม่ในอีก 1.5 ปี http://chapternews.redcross.or.th เว็บไซต์สำนักบริหารกิจการเหล่ากาชาด 22

ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ ICT สนับสนุน หน่วยงานในสภากาชาดไทย ยุทธศาสตร์ที่ 2: ยกระดับการทำงาน สำนักสารนิเทศและสื่อสารองค์กร– ได้ปรับปรุงพิพิธภัณฑ์ให้มีชีวิตโดยประยุกต์ใช้ ICT โดยในระยะที่ 1 ได้ใช้จอทีวีร่วมกับ Marker และกระบวนการ Image Processing เพื่อทำเสมือนจอสัมผัสจริง ซึ่งดำเนินการโดย อ.พิเชษฐ์ จันทรทิพรักษ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนิสิตจากที่ต่างๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นต้น ต่อไปจะได้พัฒนาเว็บและกิจกรรมงาน 84 พรรษาในหลวง และเว็บชมพิพิธภัณฑ์เสมือนจริง 360 องศาเพื่อเชื่อมต่อกับเว็บไซต์ e-museum ของสภากาชาดไทยต่อไป 27 เม.ย.54 วันสถาปนาสภากาชาดไทย ณ พิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทย คณะกรรมการดำเนินการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทยฯ โดยหม่อมราชวงศ์จักรรถ จิตรพงศ์ เป็นประธาน คณะทำงานในการปรับปรุงพิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทย ด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง เมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2554 โดยผู้อำนวยการสำนักสารนิเทศและสื่อสารองค์กร สำนักงานบริหาร เป็นประธาน www.thairedcrossmuseum.com เว็บชมพิพิธภัณฑ์เสมือนจริง 360 องศา จัดทำชั่วคราวระหว่างการพัฒนาแล้ว ปัจจุบัน 1 2 พัฒนา Web e-Museum, พ.ศ. 2549 โดย Nectec และ บริษัทแอกซิส กราฟิค พัฒนา Living Museum พ.ศ. 2554 ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ธ.ค.53 - เม.ย.54 มิ.ย.54 ก.ย.54 ม.ค. - ธ.ค.55 จอTVสัมผัส 84 พรรษาในหลวง 150 ปีวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรี สวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ใช้งบประมาณ 1.8 ล้านบาท กำลังจะจัดซื้อเครื่อง Server เว็บใหม่ http://museum.redcross.or.th Web e-Museum ปรับปรุงใหม่

ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ ICT สนับสนุน หน่วยงานในสภากาชาดไทย ยุทธศาสตร์ที่ 1,2,3,4,5 ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ ICT สนับสนุน หน่วยงานในสภากาชาดไทย ศูนย์ดวงตา– กำลังทำสัญญา ได้ประกวดราคาเพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลศูนย์ดวงตาเรียบร้อยแล้วเมื่อ 20 พฤษภาคม 2554 ด้วยงบประมาณ 3,450,000 บาท จะใช้เวลาพัฒนา 6 เดือน ระบบเป็นลักษณะ Web-Based พัฒนาด้วยภาษา Java บนฐานข้อมูล Oracle Standard 11g R2 ติดตั้งบนเครื่องแม่ข่าย IBM X3650 M3 จำนวน 1 เครื่อง 4-6CPUs Intel Xeon RAM 8GB ฮาร์ดดิกส์ 146GBx6 ฮาร์ดดิกส์สำรองข้อมูล 2TBx2 ขั้นตอนดำเนินงานโดยสรุป คณะทำงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลศูนย์ดวงตา โดยผศ.พญ.ลลิดา ปริยกนกเป็นประธาน 1.รับบริจาคดวงตา 2.รับใบจองตาจากผู้ป่วย 4.เก็บดวงตา 3.บันทึกผลผ่าตัดตา 4.บันทึกดวงตาที่นำไปใช้แล้ว 5.ทำรายงานสถิติ ระบบปัจจุบัน ระบบใหม่ คณะทำงานฯ พัฒนาเป็น ประกอบด้วย 4 ฐานหลัก ดังนี้ แผนการพัฒนาระบบ 6 เดือน External Hard Disk 2TBx2 IBM X3650 M3 1. ฐานข้อมูลผู้แสดงความจำนงบริจาคดวงตา แบบ FoxPro v.8.0 ประมาณ 400,000 รายชื่อ และเป็นกระดาษ 500,000 รายชื่อ 2. ฐานข้อมูลผู้ป่วยจองดวงตา แบบ MS Excel ประมาณ 6,000 รายชื่อ 3. ฐานข้อมูลผู้บริจาคที่นำดวงตามาใช้ประโยชน์แล้ว แบบ MS Access ประมาณ 4,000 รายชื่อ 4. ฐานข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา แบบ MS Excel ประมาณ 7,000 รายชื่อ 24

ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ ICT สนับสนุนหน่วยงานในสภากาชาดไทย ยุทธศาสตร์ที่ 1:พัฒนาระบบฐานข้อมูล ยุทธศาสตร์ที่ 2: ยกระดับการทำงาน สำนักงานอาสากาชาด– อยู่ระหว่างการจัดทำ TOR เพื่อปรับปรุงและบูรณาการระบบอาสาสมัครสภากาชาดไทย (Volunteer) ซึ่งจะได้พัฒนาระบบให้ครบวงจร เพิ่มเติมในด้านรวมฐานข้อมูลและเพิ่มรายละเอียดงาน การเตรียมการ การแจ้งข้อมูล การอบรม การให้เข็ม เหรียญ และการรับและคัดกรองคุณสมบัติอาสาสมัครตามลักษณะงาน เป็นต้น โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เช่น สำนักบริหารกิจการเหล่ากาชาด สำนักงานยุวกาชาด สำนักงานจัดหารายได้ ศูนย์ฝึกอบรมปฐมพยาบาล รพ.สมเด็จฯ เป็นต้น คาด TOR แล้วเสร็จในเดือนมิถุนายน 2554 นี้ และเตรียมพัฒนาระบบทั้งหมดโดยใช้เวลาประมาณ 1 ปี เพื่อรองรับภัยพิบัติที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน ขั้นตอนดำเนินงานโดยสรุป 1.ในภาวะปกติ 2.ในภาวะมีภัยพิบัติ 1.รับอาสมัคร 2.ตั้งภารกิจงาน 3.คัดสรรตามงาน 4.อบรม 6.แจ้งระดมพล 7.มอบงาน 8.ปฏิบัติงาน 8.สรุปประเมิน 9.ให้เข็มเหรียญ คณะทำงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลอาสาสมัครสภากาชาดไทย โดยศ.นพ.ดำรง เหรียญประยูรเป็นประธาน จำแนกตามเพศ หญิง=10,425 คน ชาย=3,267 คน ปัจจุบัน ตั้งคณะทำงานฯ ศูนย์ฝึกอบรมปฐมพยาบาลฯ พัฒนาระบบอาสาสมัคร เฉพาะ Sea Rescue 1 ระบบ วิเคราะห์ระบบ บูรณาการร่วมกัน ทุกระบบทำ TOR ครบวงจร สำนักงาน อาสากาชาด พัฒนาระบบ อาสาสมัคร 1 ระบบ จำแนกตามอายุ ช่วง 31-50 ปีมากที่สุด เหล่ากาชาด พัฒนาระบบ อาสาสมัคร 1 ระบบ โอนย้ายข้อมูลมารวมกันทั้งหมด 1 ฐานข้อมูล พัฒนาระบบใหม่ รวมฐานและให้ครบวงจร อบรมใช้งาน http://volunteer.redcross.or.th เว็บอาสาสมัคร สภากาชาดไทย มีฐานข้อมลอาสาสมัครในระบบที่ Active จริงมีประมาณ 3,000 คนในปัจจุบัน กำลังปรับปรุงให้ครบวงจร 25 25 ปี 2548 2549 2551 2552 2553 ม.ค.54 มิ.ย. ม.ค.55 ม.ค.56

ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ ICT สนับสนุน หน่วยงานในสภากาชาดไทย สำนักงานจัดการทรัพย์สิน– ได้พัฒนาระบบฐานข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ของสภากาชาดไทยเรียบร้อยแล้วในเดือนกันยายน 2553 ตามแผนงานรวม 1.5 ปี โดยมีข้อมูล ที่ดิน อาคาร ผู้ใช้ประโยชน์ กรมธรรม์ประกันภัย การใช้ประโยชน์ในที่ดิน/อาคาร (เตรียมพัฒนาระยะที่ 2 ปรับปรุงสิทธิการเข้าดูข้อมูล และ การเชื่อมต่อ Back และ Front Office) ได้รับความอนุเคราะห์การเขียนโปรแกรมจากสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร และ การหาพิกัดข้อมูลที่ดินเบื้องต้นจากกรมส่งกำลังบำรุงทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ปัจจุบัน ระยะที่ 2 1 ระยะที่ 1 2 ปรับปรุงสิทธิเข้าถึงข้อมูล, เชื่อม Front, Back Office ได้พัฒนาระบบฐานข้อมูล ที่ดิน อาคาร รวบรวมข้อมูล ที่ดิน อาคาร รายงานรวม 26 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555

ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ ICT สนับสนุน หน่วยงานในสภากาชาดไทย ยุทธศาสตร์ที่ 1: พัฒนาระบบฐานข้อมูล ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ ICT สนับสนุน หน่วยงานในสภากาชาดไทย สำนักงานบรรเทาทุกข์ฯ– ได้มีการใช้ระบบการเงินฯ ในปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และได้บันทึกข้อมูลการจัดซื้อและคลังพัสดุจากสถานีกาชาด 12 แห่ง ขณะนี้อยู่ระหว่างผลักดันและเตรียมข้อมูลเพื่อจัดทำระบบ MIS สำหรับผู้บริหารต่อไป (กำลังดึงข้อมูลมาเพื่อวิเคราะห์ และได้ประยุกต์ใช้ระบบ e-mail ในช่วงที่ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย)  รวมฐานข้อมูล ณ ส่วนกลาง  12 สถานีกาชาด ต้นแบบระบบ MIS คลังพัสดุ (Inventory) 27

ยุทธศาสตร์ที่ 1:พัฒนาระบบฐานข้อมูล ยุทธศาสตร์ที่ 2: ยกระดับการทำงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4: จัดหาและซ่อมบำรุงระบบคอมพิวเตอร์ ยุทธศาสตร์ที่ 5: พัฒนาบุคลากรด้านICT การยกระดับการจัดประชุม ก้าวทันเทคโนโลยียุคปัจจุบัน และ เพิ่มศักยภาพในการสื่อสารภายในและภายนอกสภากาชาดไทย จากนโยบายท่านเลขาธิการในเรื่องดังกล่าว: ได้ดูงาน ณ เนคเทค เมื่อช่วงเดือนพฤษภาคม 2554 และได้ติดตั้งระบบบริหารการประชุม (E-Meeting) ณ ที่สภากาชาดไทยในเครื่องชั่วคราวแล้ว กำลังอบรมการใช้งาน ทดลองการใช้งานและจัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เช่น scanner iPad2 เครื่องแม่ข่าย และ เตรียมระบบ Wireless LAN รองรับต่อไป วัตถุประสงค์หลัก เพื่อลดการใช้กระดาษกับการประชุม ใช้กับประชุมกรรมการเจ้าหน้าที่ กรรมการสภาฯ และขยายไปยังประชุมอื่นๆต่อไป เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารรับทราบข้อมูลได้รวดเร็วและทันสมัย ผ่าน e-mail Intranet Web Site ระบบการเงินฯ ระบบ MIS ฯลฯ เก็บบันทึกประชุมอย่างเป็นระบบ 2 อ่านเอกสารประชุม วิเคราะห์ข้อมูลระบบ MIS ด้วย iPad2 1 Scanเอกสาร แปลงไฟล์เป็น PDF แนบไฟล์ เตรียมวาระส่ง e-mail Internet 3 เลขาฯ บันทึกประชุมในระบบเวียนรับรองผ่านระบบ  28 20 เม.ย.54 ดูงาน ณ เนคเทค ดูงาน ณ เนคเทค เม.ย. พ.ค.54

สรุป 1. ผลักดันและยกระดับโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT เช่น ระบบเน็ตเวิร์กหลัก ระบบ Wireless LAN เพื่อรองรับระบบสารสนเทศที่กำลังพัฒนาทั้งในปัจจุบันและอนาคต เช่น ระบบการเงินฯ ระบบบริการโลหิต ระบบฐานข้อมูลศูนย์ดวงตา ระบบอินทราเน็ตใหม่ ระบบบริหารการประชุม (E-Meeting) 2. พัฒนาองค์กรและบุคลากรด้าน ICT รองรับเทคโนโลยีใหม่และการประยุกต์ใช้งานเพื่อยกระดับการดำเนินงานตามภารกิจ โดยเชิญวิทยากรมา อบรมให้ความรู้ความเข้าใจด้านความมั่นคงปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และผลักดันแผนงาน KPI SLA สร้างความพร้อมของหน่วยงานเพื่อผลักดันงานด้าน ICT 3. วิเคราะห์และรวบรวมความต้องการในการประยุกต์ใช้ ICT ทั้ง 23 หน่วยงานแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง และผลักดันการพัฒนาระบบฐานข้อมูลรองรับการใช้งาน เช่น ระบบอาสาสมัครสภากาชาดไทยอย่างครบวงจร ระบบการให้เข็มเหรียญ ระบบสมาชิกสภากาชาดไทย เป็นต้น 4. วิเคราะห์และพัฒนาระบบ MIS รองรับการใช้งานในระดับการบริหาร สำหรับหน่วยงานต่างๆ และในภาพรวมของสภากาชาดไทย 5. การสนับสนุนจากผู้บริหารสูงและความเข้าใจความร่วมมือจากทุกหน่วยงานเป็นกุญแจสำคัญของความสำเร็จ 29

จบบริบูรณ์ 30