บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
Advertisements

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ราชบุรี, สุพรรณบุรี นครปฐม, กาญจนบุรี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

การเปลี่ยนแปลง - แผน จาก แผนจัดบริการ (ตามทิศทางของกองทุนฯ) > เพิ่ม แผนแก้ไขปัญหาของจังหวัด หรือ มาตรการแก้ไขปัญหา ลดการแยกส่วนทำงาน สสจ.- CUP - รพสต. > เกิดการทำงานเป็นทีม ช่วยกันคิด มีการถ่ายทอดแผนแก้ไขปัญหาสู่แผนปฏิบัติงาน จาก project ย่อยๆ เห็นมาตรการหลัก / ทิศทางของการทำงานมากขึ้น มีการชี้เป้าหมายในเชิงกลยุทธ์ จากข้อมูลที่มีอยู่ เพิ่มเติม/ประยุกต์จากทิศทางจากส่วนกลาง

การเปลี่ยนแปลง - แผน การจัดสรรงบกองทุนและทรัพยากร มีการกระจายตามแผนแก้ปัญหา ไม่กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มวัยเรียน เหมือนปี 54 ขยายบริการทันตฯ เข้าถึงประชาชนกลุ่มอื่นๆ (นอกกลุ่มเป้าหมายหลัก) CUP มีแผนพัฒนางานในพื้นที่ของตน แผนแก้ไขปัญหา / แผนบูรณาการ ยังไม่แสดงวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ที่เฉพาะเจาะจงต่อปัญหา (what who where) ไม่ระบุวิธีกำกับติดตาม ประเมินผลรายมาตรการ

การเปลี่ยนแปลง - บริหารจัดการ มีการปรับระบบบริการให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เช่น โซนบริการ จัดคนหมุนเวียน แต่ ยังไม่สามารถเข้าถึงเด็กปฐมวัย มีการพัฒนาระบบรายงาน จังหวัดวิเคราะห์ และ feedback พื้นที่ การวิเคราะห์ coverage ในกลุ่มประชากร พัฒนาการติดตามการใช้เงินกองทุนระดับ CUP

การเปลี่ยนแปลง - บริหารจัดการ การสนับสนุน cup โดยจังหวัด ชัดเจนมากขึ้น (แผนจัดสรรกำลังคน/ครุภัณฑ์ แผนพัฒนาศักยภาพ แผนสนับสนุนบริการระดับปฐมภูมิ) ปรับการนิเทศ เหมาะสมกับบริบทของจังหวัด นิเทศถึงระดับพื้นที่ -> ทราบปัญหาการทำงาน การพัฒนาบทบาท ทพ. CUP เช่น การสนับสนุนการจัดบริการในรพสต. เป็นทีมพี่เลี้ยงพัฒนาหน่วยปฐมภูมิ oral health manager ดูแลงานภาพรวมทั้งอำเภอ

ข้อเสนอแนะ ข้อมูลที่นำมาใช้วิเคราะห์ปัญหา เพื่อทำแผน ควรมีทั้งด้าน demand site และ supply site ข้อมูลสาเหตุของปัญหาในพื้นที่ และ วิเคราะห์ปัญหาอย่างแยกแยะ ไม่ดูแค่ภาพรวม มาตรการ intervention เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ มีความชัดเจน จะเลือกจัดการที่จุดใด ด้วยวิธีการใด และติดตาม ประเมินผล จัดการให้สมดุล งานป้องกัน VS การทำงานส่งเสริม การติดตามสนับสนุนภาคีเครือข่าย

ข้อเสนอแนะ ต้องสื่อสารแผนให้ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับเข้าใจ ระบุบทบาทของภาคส่วนต่างๆ ให้ครบ ให้เชื่อมโยง ถ้าไม่เห็นภาพรวม ระดับปฏิบัติจะทำงานตามตัวชี้วัด โดยไม่เข้าใจ ไม่ลดสาเหตุของปัญหา จังหวัดติดตามแผน CUP และเป็นพี่เลี้ยงการ ดำเนินงานของเครือข่ายบริการ การติดตามงานในพื้นที่ พัฒนาการบริหารงานระดับอำเภอให้เข้มแข็ง เป็น oral health team ไม่แยกส่วน รพ. / รพสต. ทันตแพทย์ เป็น manager ดูแลงานภาพรวมอำเภอ ทภ. สรุปวิเคราะห์งาน นำเสนอข้อมูล ปัญหา บาง CUP จนท.สธ.สามารถวิเคราะห์งานทันตฯ ได้

ขอบคุณค่ะ

ปัญหา & ข้อเสนอแนะ ปัญหา ข้อเสนอแนะ การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ระดับปฐมภูมิ ยังไม่มีประสิทธิภาพ และ ไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่ม เป้าหมายสำคัญ ยกเว้น กลุ่มวัยเรียน ที่มีการจัดโซนบริการ ให้ครอบคลุมทุกโรงเรียน ระดับ CUP สร้าง ทีมทันตสุขภาพอำเภอ (รพ. + สสอ. + รพ.สต.) เพิ่มบทบาท ทภ.ชำนาญงาน ทพ.CUP เพิ่มบทบาทเป็น ผู้จัดการเครือข่ายอำเภอ Oral Health Manager วิเคราะห์ ดูแลงานภาพรวม -พัฒนางานทันตฯระดับปฐมภูมิ ทั้งระยะสั้น เช่น ฝึกเพิ่มทักษะ ทีมพี่เลี้ยง และมีแผนระยะยาว รองรับนักเรียนทุน ทภ.2ปี การพัฒนาทีมทันตสุขภาพอำเภอ เน้นให้ ทพ.CUP เป็นผู้นำ เป็น manager วิเคราะห์ ดูแลงานภาพรวม ในขณะที่ต้องพัฒนาทันตาภิบาล (ระดับชำนาญงาน) ให้มีทักษะเพิ่มขึ้นด้านรวบรวมข้อมูลและสรุปงานในความรับผิดชอบ ของ รพ.สต. และโซนบริการ เพื่อเป็นข้อมูลใช้วิเคราะห์ วางแผนแก้ไขปัญหาพื้นที่

ปัญหา & ข้อเสนอแนะ ปัญหา ข้อเสนอแนะ การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ระดับปฐมภูมิ ยังไม่มีประสิทธิภาพ และไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่ม เป้าหมายสำคัญ ระดับจังหวัด กำหนด ทิศทางการทำงาน วิธีการกำกับติดตาม และประเมินผล ระดับอำเภอ/จังหวัด ลดปัญหาข้อมูลไม่ครบถ้วน หรือการดำเนินงานในพื้นที่ล่าช้า -พัฒนา ทีมทันตสุขภาพอำเภอ (Oral Health Manager และ ทภ.) โดยกิจกรรมKM หรือ workshop ติดตามสนับสนุน CUP อย่างใกล้ชิด และติดตามงานถึงระดับพื้นที่ (รพสต. รร. ศดล.) การพัฒนาทีมทันตสุขภาพอำเภอ เน้นให้ ทพ.CUP เป็นผู้นำ เป็น manager วิเคราะห์ ดูแลงานภาพรวม ในขณะที่ต้องพัฒนาทันตาภิบาล (ระดับชำนาญงาน) ให้มีทักษะเพิ่มขึ้นด้านรวบรวมข้อมูลและสรุปงานในความรับผิดชอบ ของ รพ.สต. และโซนบริการ เพื่อเป็นข้อมูลใช้วิเคราะห์ วางแผนแก้ไขปัญหาพื้นที่ และให้ข้อเสนอแนะระดับจังหวัดได้

ปัญหา ข้อเสนอแนะ การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ระดับปฐมภูมิ ยังไม่มีประสิทธิภาพ และไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่ม เป้าหมายสำคัญ ระดับเขต -พัฒนา สสจ. และ CUP ด้านกำกับติดตาม วิเคราะห์ประเมินผล -เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง พัฒนา ทีมทันตสุขภาพอำเภอ ระดับส่วนกลาง -แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่อง ปากทุกระดับ -หลักสูตรพัฒนาผู้จัดการเครือข่าย ระดับอำเภอ และสร้างแรงจูงใจ -พัฒนา ระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข ที่พื้นที่สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง