การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
Self-Assessment Report
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระ เกียรติ จังหวัดแพร่

รายงานการประเมินตนเอง คืออะไร เป็นเอกสารที่หน่วยงานจัดทำ ขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน ให้สาธารณชนรับทราบ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตาม ดัชนี เกณฑ์ที่กำหนดไว้ รวม ถึงวิเคราะห์จุดแข็ง/ จุดเด่นและ จุดอ่อน/จุดด้อย ในการ ดำเนินการ

รายงานการประเมินตนเอง จัดทำขึ้นเพื่ออะไร รวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงาน บทบาท หน้าที่ของตนเองและหน่วยงาน (แสดงผลการดำเนินงาน) ใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่ บกพร่อง และดำรงไว้ซึ่งสิ่งที่ดีอยู่แล้ว ใช้เป็นเอกสารในการรับการประเมิน คุณภาพ จากภายใน - ภายนอก

ทำไมรายงานการประเมินตนเองจึงใช้ เป็นเอกสารในการรับการประเมินคุณภาพ ทำไมรายงานการประเมินตนเองจึงใช้ เป็นเอกสารในการรับการประเมินคุณภาพ ผู้ประเมินฯ ทำการศึกษา SAR ของ สถานศึกษา/หน่วยก่อนที่จะเข้าประเมิน คุณภาพ เพื่อการ 1. เห็นภาพรวมของสถาบัน เข้าใจในสถาบัน 2. รายละเอียดในแต่ละตัวบ่งชี้ ทราบผลการปฏิบัติงานทั้ง จุดแข็ง (วิธีการปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม) หรือจุดที่ควรพัฒนา โดยมีหลักฐานยืนยันการดำเนินงาน

องค์ประกอบของ SAR ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินตามมาตรฐาน แนวทางการพัฒนา ภาคผนวก

ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน ได้แก่ ประวัติความเป็นมา วิสัยทัศน์/ปรัชญา วัตถุประสงค์ แผนการดำเนินงาน โครงสร้างการบริหาร โครงสร้างองค์กร ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตร และนักศึกษา ได้แก่ จำนวนนักศึกษา จำแนกตามระดับการศึกษา และข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตร โปรแกรมการเรียน ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร ได้แก่ จำนวนวุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุน ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร ได้แก่ อาคารสถานที่ งบประมาณ จำแนกตามประเภทรายจ่าย จุดเด่น ผลการดำเนินการสำคัญในรอบปี

ผลการประเมินตามมาตรฐาน สรุปผลการดำเนินงานในแต่ละตัวบ่งชี้เปรียบเทียบ 3 ปีย้อนหลัง และผลการประเมินผลการดำเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ตามเกณฑ์การประเมินที่หน่วยงานกำหนดไว้ในแบบฟอร์ม SAR 1 การรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยหน่วยงานควรบรรยายแนวทางการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายในแต่ละมาตรฐาน หรือชี้แจงเหตุผลในกรณีที่ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย การรายงานผลการดำเนินการตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบครั้งที่ผ่านมา รวมทั้งผลการดำเนินงานตามการพัฒนาที่หน่วยงานจัดทำเอง การนำเสนอจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาในแต่ละมาตรฐาน

แนวทางการพัฒนา สรุปผลการดำเนินงานในแต่ละมาตรฐาน โดยชี้ให้เห็นจุดที่ควรพัฒนาให้ชัดเจน นำเสนอแนวทาง/แผนการพัฒนา (หากเป็นไปได้ควรกำหนดช่วงเวลาด้วย)

ภาคผนวก ข้อมูลตารางพื้นฐานสำหรับการประเมินภายใน ตารางรายละเอียดแต่ละตัวบ่งชี้ (ข้อมูลตามแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูล) รายการเอกสารอ้างอิง อื่น ๆ