การดูแลสุขภาพองค์รวม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556
เศรษฐกิจพอเพียงกับบริการสุขภาพ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
คุณภาพชีวิต.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ขบวนจังหวัดระยอง. แนวคิดและหลักการ ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ชุมชน เข้มแข็ง สร้างคน สร้าง ขบวน ถอด องค์ ความรู้ ปฏิบัติ จริง.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
การแต่งกายของนักเรียน
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลสุขภาพองค์รวม โดย ดร. ศิริลักษณ์ จิตต์ระเบียบ และคณะฯ สำนักโรคไม่ติดต่อ

ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม สุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ กรรมพันธุ์ พฤติกรรม กายภาพ/ชีวภาพ เศรษฐกิจ/การเมือง วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความมั่นคง การสื่อสารคมนาคม เทคโนโลยี ความเชื่อ จิตวิญญาณ ระบบบริการสุขภาพ Health System เสมอภาค/ความครอบคลุม---- ประเภทและระดับบริการ----- ---คุณภาพ/ประสิทธิภาพ --------รัฐ/เอกชน พลวัต

ขยายกรอบวิธีคิดเรื่องสุขภาพ ความทุกข์ ความเป็นมนุษย์ สุพทรียภาพ สันติภาพ อิสรภาพ ความเจ็บป่วย โรค ขยายกรอบวิธีคิดเรื่องสุขภาพ

การออกกำลังกาย อาหาร การฝึกความคิด การคลายเครียด Exercise ยา Nutrition Herbal medicine หลักการดูแลสุขภาพองค์รวมหรือการแพทย์ทางเลือก Principle of Holistic Care การฝึกความคิด Health&Mind Thinking การคลายเครียด Relax+Massage

สุขภาพกายและสุขภาพจิตใจมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน สุขภาพส่วนบุคคลและสุขภาพของสังคมก็เช่นเดียวกัน การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกายและจิตโดยใช้พลังธรรมชาติเป็นฐาน การออกกำลังกาย การฝึกสมาธิภาวนา การกินอาหารเพื่อสุขภาพ การอาบแดด การล้างพิษ ย่อมช่วยให้เราสามารถฟื้นคืนดุลยภาพของชีวิต

ความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ Holistic Health สุขภาพองค์รวม ความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ (ปัญญา) ไม่เพียงแก่ไม่เจ็บป่วยหรือไม่มีโรค หากยังครอบคลุมถึง การดำเนินชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุขของทุกคนด้วย

องค์ประกอบของสุขภาพองค์รวม มิติทางจิตวิญญาณ มิติทางกาย Physical dimension Spiritual dimension องค์ประกอบของสุขภาพองค์รวม มิติทางสังคม มิติทางจิตใจ Psychological dimension Social dimension

Health : Determinants of Health ปัจจัยกำหนดความมีสุขภาพดี 1. สถานะทางสังคม : Income and Social Status 2. ความมีเครือข่ายสังคมที่คบหา : Social Support Network 3. การศึกษา : Education and Literacy 4. การทำงาน : Employment Working Conditions 5. สิ่งแวดล้อมทางสังคม : Social Environment 6. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ : Physical Environment

Health : Determinants of Health ปัจจัยกำหนดความมีสุขภาพดี 7. งานอดิเรก การใช้เวลาว่าง : Personal Health Praclices and Coping skills 8. พัฒนาการในวัยเด็ก : Health child Development 9. ปัจจัยทางชีวภาคยีน : Biology and Genetic Enolowment 10. การใช้บริการสุขภาพ : Health Service 11. เพศ เชื้อชาติ ผิวพรรณ : Sex Gender 12. ประเพณี วัฒนธรรม : Culture

NEWSTART N – Nutraition : อาหาร E – Exercise : การออกกำลังกาย WHO : ได้ให้ความหมายของการตื่นตัวในภาระสุขภาพของคนยุคใหม่ NEWSTART N – Nutraition : อาหาร E – Exercise : การออกกำลังกาย W - Water : น้ำ S - Sunshine : แสงแดด T - Temperance : อุณหภูมิ A - Air : อากาศ R - Rest : การพักผ่อน T – Trust in God : ความเชื่อ ความศรัทธา สมาธิ

หลักการดูแลสุขภาพองค์รวม 1. อาหาร (โภชนาการ : Nutrition ) 2. การออกกำลัง( Exercise / Fitness / Movement ) 3. ยา ( Herbal Medicine ) 4. การฝึกความคิด ( Health&Mind Thinking ) 5. การผ่อนคลาย / คลายเครียด(Relaxation / Message)

ความสำคัญของสุขภาพ สุขภาพ สุขภาพเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของการเพิ่มผลผลิต เพราะการเพิ่มผลผลิตต้องอาศัยคนทำ ถ้าคนทำการเพิ่มผลผลิตมีสุขภาพดี ย่อมสามารถทำการเพิ่มผลผลิตได้เต็มที่และต่อเนื่อง เป็นผลให้การเพิ่มผลผลิตบรรลุเป้าหมายได้โดยเร็ว ในทางตรงกันข้าม ถ้าคนที่ทำการเพิ่มผลผลิตมีสุขภาพที่ไม่ดี การเพิ่มผลจะบรรลุผลได้ช้าหรืออาจได้บรรลุเลย สุขภาพ สภาพของร่างกายและจิตใจ สุขภาพดีจึงหมายถึง สภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ

กิจกรรม..............สร้างชีวิต.................พิชิตโรค สร้างแกนนำที่เข้มแข็ง ของหน่วยงานในการขับเคลื่อน โดยให้หน่วยงานเพิ่มสถานที่ทำงาน น่าอยู่อย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของตนเอง

การสนับสนุนขององค์กร การติดต่อสื่อสาร การตรวจ ติดตาม ทบทวน ประเมินผล การมีส่วนร่วมของบุคคลากร สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน มีชีวิตชีวา สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี

ปัญหาสุขภาพ มลพิษทางสภาพแวดล้อม นม – เนย – ไขมัน – เนื้อสัตว์ การขยายตัวของอุตสาหกรรม ทำลายป่า ทรัพยากร+สภาพแวดล้อมถูกทำลาย มลพิษทางสภาพแวดล้อม การบริโภคนิยาม แบบตะวันตก นม – เนย – ไขมัน – เนื้อสัตว์ มากเกินไป การกินอาหารไม่ถูกส่วน แนวคิดในการดำเนินตน แบบตะวันตก ความเครียดในการดำรงชีวิต

การแก้ไขปัญหา ใช้หลัก 3 อ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย

กรอบความสัมพันธ์ของแนวคิด วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพและการพัฒนาประเทศ

ความเชื่อมโยงและพลวัตที่เกี่ยวกับสุขภาพ

สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน “ความอยู่เย็นเป็นสุข” สังคมประชาธิปไตย มีธรรมาภิบาล การมีสุขภาวะ 6 องค์ ประกอบ ปัจจัยพื้นฐาน ร่วมในการ สร้างสุข เศรษฐกิจเป็นธรรม เข้มแข็ง สภาพแวดล้อมดี ระบบนิเวศสมดุล ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง

วิธีล้างพิษด้วยวิธีธรรมชาติ 1. ฝึกลมหายใจเข้า- ออก (ช้าๆ) ประมาณ 8-10 ครั้ง/นาที (ทำวันละ 1-5 นาที) 2. ทำให้เหงื่อออก 3. - ปัสสาวะ ดูลักษณะสี จำนวน - อุจจาระ วันละ 1-3 ครั้ง ดูลักษณะสี จำนวน

วิธีล้างพิษด้วยวิธีธรรมชาติ(ต่อ) 4. คลายเครียด 5. ใน 1 สัปดาห์ ควรงดเนื้อสัตว์ 1 วัน/และหรือ 1-2 มื้อ - เริ่มด้วยผัก-ไม้ น้ำดื่มที่สะอาด (1 วัน/สัปดาห์) สวดมนต์, เข้าโบสถ์ ,อัลเลาะห์, ร้องเพลง , เล่นกีฬา ,สันทนาการ ฯลฯ

Q & A Thank YOU