ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
Lecture 10 : Database Documentation
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
Information System and Technology
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ บทที่ 2.
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
SCC : Suthida Chaichomchuen
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Transaction Processing Systems
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
01 Introduction to File Management
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
Geographic Information System
(Transaction Processing Systems)
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
1. ความหมายฐานข้อมูล 2. โครงสร้างของฐานข้อมูล
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการฐานข้อมูล.
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
ระบบการเรียกเก็บหนี้
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
Chapter 1 : Introduction to Database System
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบฐานข้อมูล.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวิชา การจัดการฐานข้อมูล
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล 4/5/2017 ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) การประมวลผลข้อมูล (Data processing) ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล ประเภทของการประมวลผล การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ ระบบเลขฐานและการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง การแทนอักขระ การแทนจำนวนเลข

4/5/2017 การประมวลผลข้อมูล การกระทำหรือการจัดการกับข้อมูล ในลักษณะต่างๆ เช่น การคำนวณ การเรียงลำดับ การคัดเลือก เป็นต้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศที่มีความหมายและเป็นประโยชน์ตามต้องการ

ข้อมูล (Data) ข้อเท็จจริง (Facts) ที่ใช้สำหรับกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง 4/5/2017 ข้อมูล (Data) ข้อเท็จจริง (Facts) ที่ใช้สำหรับกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง ข้อมูลอาจจะเป็นข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข เช่น จำนวน ปริมาณ ระยะทาง ราคา ฯลฯ ข้อเท็จจริงที่ไม่ใช่ตัวเลข เช่น ชื่อ ที่อยู่ สถานภาพการสมรส ฯลฯ ยังมีความหมายรวมถึงข่าวสารที่ยังไม่ได้มีการประมวลผล การเก็บรวบรวมข้อมูลเหล่านี้มาจากแหล่งข้อมูล(data source)

4/5/2017 ประเภทของข้อมูล ข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่ได้จากแหล่งกำเนิดข้อมูลโดยตรง เรียกว่าข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลมาแล้ว เรียกว่า ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)

ข้อสนเทศ(Information) 4/5/2017 ข้อสนเทศ(Information) ผลลัพธ์หรือสิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ข้อมูลขององค์กรหนึ่งอาจผ่านการประมวลผลข้อมูลหลายงาน ข้อสนเทศที่ได้จึงมีได้หลายรูปแบบและหลายความหมาย และมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้งาน ข้อสนเทศจะถูกใช้ในการพิจารณาเพื่อการตัดสินใจ

การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) 4/5/2017 การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) ข้อมูล ข้อสนเทศ ประมวลผล การนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการประมวลผล เรียกว่า Electronic Data Processing (EDP)

ตัวอย่างของการประมวลผลข้อมูล 4/5/2017 ตัวอย่างของการประมวลผลข้อมูล ใบสั่งซื้อสินค้า ข้อมูลปฐมภูมิ ตรวจสอบและหาผลรวมจำนวนสินค้าแยกตามชนิดในแต่ละเดือน จำนวนสินค้าที่ขายได้ในแต่ละเดือน ข้อมูลทุติยภูมิ จำนวนสินค้าที่ขายได้แยกตามชนิด มูลค่าของสินค้าที่ขายได้ในแต่ละเดือน หาผลคูณระหว่างราคาสินค้ากับจำนวนแยกตามชนิดของสินค้า

4/5/2017 แหล่งที่มาของข้อมูล แหล่งที่มาของข้อมูลขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบหลายอย่าง เช่นขึ้นอยู่กับประเภทข้อมูลที่เราต้องการ ขึ้นอยู่กับลักษณะของหน่วยงานเป็นต้น ซึ่งอาจแยกที่มาของข้อมูลออกเป็น 2 ทางใหญ่ๆ ดังนี้ 1) แหล่งข้อมูลภายในหน่วยงาน (Internal Source) 2) แหล่งข้อมูลภายนอกหน่วยงาน (External Source)

คุณสมบัติของข้อสนเทศที่ดี 4/5/2017 คุณสมบัติของข้อสนเทศที่ดี 1) ความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy) 2) ความทันเวลา (Timeliness) 3) ความสมบูรณ์ครบถ้วน (Completeness) 4) ความกระทัดรัด (Conciseness) 5) ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevancy)

ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล 4/5/2017 ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) การประมวลผลข้อมูล (Data processing) ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล ประเภทของการประมวลผล การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ ระบบเลขฐานและการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง การแทนอักขระ การแทนจำนวนเลข

การจัดองค์กรของข้อมูล (Data Orgaization) 4/5/2017 การจัดองค์กรของข้อมูล (Data Orgaization) Bit หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดทางคอมพิวเตอร์ มีค่าเป็น 0 หรือ 1 Byte ประกอบไปด้วยหลาย ๆ บิต เช่น 8 บิต เป็น 1 ไบต์ Word ประกอบไปด้วยหลาย ๆ ไบต์ เช่น 1 เวิร์ดเท่ากับ 4 ไบต์ Character ซึ่งได้แก่ตัวเลข 0-9 ตัวอักษร A-Z และสัญลักษณ์พิเศษต่าง ๆ จะสัมพันธ์กับไบต์ เขตข้อมูล (Field) หมายถึงกลุ่มของ Character ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันแล้วมีความหมาย เช่น เลขประจำตัว ชื่อพนักงาน

การจัดองค์กรของข้อมูล(ต่อ) 4/5/2017 การจัดองค์กรของข้อมูล(ต่อ) ระเบียนข้อมูล (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ขึ้นไปที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันแล้วมีความหมายที่หมายถึงรายละเอียดของสิ่งที่สนใจ เช่น ชื่อ เลขประจำตัว ยอดขายของพนักงาน 1 คน รวมกันเป็นข้อมูลของพนักงานขาย 1 เรคคอร์ด แฟ้ม (File) หมายถึงกลุ่มข้อมูลตั้งแต่ 1 เรคคอร์ดที่เป็นข้อมูลเรื่องเดียวกัน เช่น เรคคอร์ดเกี่ยวกับพนักงานขายทั้งหมดในหน่วยงานหนึ่งรวมกันเป็นแฟ้มข้อมูล เรียกได้ว่าเป็น แฟ้มหนักงานขาย ฐานข้อมูล (Database) ได้แก่ ข้อมูลหลายๆ แฟ้มที่เกี่ยวข้องกันมาเก็บรวมกันเป็นฐานข้อมูล เช่น แฟ้มพนักงานขาย แฟ้มสินค้า แฟ้มรายการขาย แฟ้มลูกค้า รวมเป็นฐานข้อมูลของบริษัท

แผนภาพการจัดองค์กรข้อมูล Database File Record Field Character Bit Data Item

ตัวอย่าง แฟ้ม ระเบียนและเขตข้อมูล Dept# Emp# Hour Rate Record 5 8.75 28 35 11.25 19 40 3 9.5 23 37 17 File Field

ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล 4/5/2017 ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) การประมวลผลข้อมูล (Data processing) ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล ประเภทของการประมวลผล การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ ระบบเลขฐานและการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง การแทนอักขระ การแทนจำนวนเลข

วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล (Data Processing Cycle) 4/5/2017 วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล (Data Processing Cycle) Source Document Input (Data) Processing Output (information) Storage/ Report Feedback

ขั้นตอนพื้นฐานในการประมวลผล 4/5/2017 ขั้นตอนพื้นฐานในการประมวลผล การประมวลผลข้อมูล มี 3 ขั้นตอนดังนี้ 1) การเก็บรวบรวมและจัดเตรียมข้อมูล(Data collection and preparation) 2) การประมวลผลข้อมูล 3) การจัดการกับผลลัพธ์ (Information manipulation)

การรวบรวมและจัดเตรียมข้อมูล 4/5/2017 การรวบรวมและจัดเตรียมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ นั่นคือการเปลี่ยนสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ การทำงานในขั้นตอนนี้ ได้แก่ การให้รหัส คือการกำหนดรหัสแทนข้อมูล การแปลงสภาพ คือ การเปลี่ยนตัวกลางที่ใชับันทึกข้อมูลให้อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปประมวลผลได้ เช่น ดิสก์เกตต์ เทป ฯลฯ

ลักษณะการประมวลผล การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing) 4/5/2017 ลักษณะการประมวลผล การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing) การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing)

การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing) 4/5/2017 การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing) การประมวลผลโดยการรวบรวมข้อมูลเป็นกลุ่ม ณ ช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่กำหนด รวบรวมข้อมูลกลุ่มสร้างเป็นแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) เมื่อถึงเวลาตามที่กำหนด นำแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเข้าประมวลผลครั้งเดียวพร้อมกัน โดยนำไปปรับปรุงกับแฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เพื่อให้แฟ้มข้อมูลหลักมีความทันสมัยอยู่เสมอ

การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) 4/5/2017 การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) ข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จะถูกนำไปปรับปรุงกับข้อมูลหลักโดยทันที ระบบจะต้องมีเทอร์มินอลที่ติดต่อกับระบบเครื่องเพื่อป้อนข้อมูลทันทีผ่านระบบสื่อสารข้อมูล การประมวลผลแบบนี้จะใช้ในกรณีที่ต้องการเสนอข้อมูลที่ถูกต้องตามเหตุการณ์ เช่น ในระบบจองตั๋วเครื่องบิน หรือกรณีที่ผู้โดยสารคืนตั๋วจะต้องปรับปรุงผลทันทีเพื่อที่จะได้ขายให้ลูกค้ารายอื่นได้

4/5/2017 การแทนรหัสข้อมูล รหัส (Code) หมายถึงสัญลักษณ์ในการแทนข่าวสารหรือข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม รหัสมีความจำเป็นอย่างมากเกี่ยวกับการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ การประมวลผลข้อมูลโดยเขียนคำสั่งควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานที่เราต้องการ หรือส่งข้อมูลเข้าไปให้เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผล ตัวอย่างเช่น การให้รหัสแก่ข้อมูลเพศของนักศึกษา โดยกำหนดเป็น ‘F’ แทน เพศหญิง ‘M’ แทน เพศชาย