สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน ๒๕๕๔ ฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
1.2 กิจกรรมหลัก - 1. โครงการมูลนิธิชัยพัฒนาบ้านทุ่งรัก
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเชาว์ แสงสว่าง
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน มิถุนายน ๒๕๕๔ สำนักงานเกษตรอำเภอเมือง หนองบัวลำภู
วันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายธวัฒน์ชัย ม่วง ทอง ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานโครงการคลินิกพืช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านสร้าง สถานการณ์การทำ การเกษตรในสภาวะปัจจุบัน.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายบุญสวย เชื้อสะอาด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ศูนย์การเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง

โรงเรียนชาวนาจังหวัดอ่างทอง

ความเป็นมา เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2552 ณ ตำบลเทวราช อำเภอไชโย งบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติมจากสำนักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง) การดำเนินกิจกรรมได้รับความร่วมมือจากผู้เข้ารับการอบรมเป็นอย่างดี ผู้เข้ารับการอบรม คือ เกษตรกรแกนนำและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร (สังกัดสำนักงานเกษตรจังหวัดและสำนักงานเกษตรอำเภอ) วิทยากรหลัก คือ อาจารย์พรรณพิมล ปันคำ ปราชญ์ชาวบ้านตำบลศรีเมืองชุม อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย วิทยากรร่วม คือ อาจารย์สุวัฒน์ ทรัพยะประภา อาจารย์ผ่าน ปันคำ และอาจารย์ภักดี ใจคำ

ระยะเวลาเรียน 20 สัปดาห์ หลักสูตร ระยะเวลาเรียน 20 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 วัน วันละ 5 ชั่วโมง

ตัวอย่าง สัปดาห์ที่ 1 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนร่วมพิจารณาเสนอข้อคิดเห็นปัญหาการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เนื้อหา สภาพการทำการเกษตรในปัจจุบัน, การใช้สารพิษ สารเคมีในการทำการเกษตรกับการดูแลสุขภาพ, การตัดสินใจร่วมกระบวนการเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงสู่การทำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ เป็นการลดต้นทุนและปลอดภัย

ผู้เรียนร่วมพิจารณาเสนอข้อคิดเห็นปัญหาการทำอาชีพเกษตรและตัดสินใจร่วมกระบวนการเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงสู่การทำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ เป็นการลดต้นทุนและปลอดภัย

ตัวอย่าง สัปดาห์ที่ 13 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาระบบนิเวศน์ พัฒนาการของข้าว การเคลื่อนไหวของแมลง เน้น แมลงที่ทำลายพืชในแปลงเรียนรู้ เนื้อหา ระบบนิเวศน์และพัฒนาการของข้าวและการทำลายของแมลง, การสาธิตการทำปุ๋ยหมักแห้ง, การทำปุ๋ยน้ำ

ศึกษาระบบนิเวศ พัฒนาการของข้าว การเคลื่อนไหวของแมลง เน้น แมลงที่ทำลายพืชในแปลงเรียนรู้

ปี 2553 การขยายผล 1.หมู่ที่ 3 ตำบลมงคลธรรมนิมิต อำเภอสามโก้ 2.หมู่ที่ 4 ตำบลองครักษ์ อำเภอโพธิ์ทอง 3.หมู่ที่ 7 ตำบลจำปาหล่อ อำเภอเมืองอ่างทอง

ปี 2554 1.หมู่ที่ 4 ตำบลหลักแก้ว อำเภอวิเศษชัยชาญ 2.หมู่ที่ 5 ตำบลบางเสด็จ อำเภอป่าโมก 3.หมู่ที่ 8 ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอวิเศษชัยชาญ 4.หมู่ที่ 5 ตำบลรำมะสัก อำเภอโพธิ์ทอง

รวม 4 ปี เป็นเจ้าหน้าที่ และเกษตรกร จำนวน 684 ราย ปี 2555 ขยายผลเพิ่ม 4 แห่ง คือ 1. หมู่ที่ 7 ต.ศาลาแดง อ.เมืองอ่างทอง เกษตรกร 50 ราย 2. หมู่ที่ 1 ต.ตรีณรงค์ อ.ไชโย เกษตรกร 50 ราย 3. หมู่ที่ 6 ต.วังน้ำเย็น อ.แสวงหา เกษตรกร 50 ราย 4. หมู่ที่ 4 ต.หนองแม่ไก่ อ.โพธิ์ทอง เกษตรกร 50 ราย - รุ่นต่อยอด (เจ้าหน้าที่ และเกษตรกร) จำนวน 50 ราย รวม จำนวน 250 ราย รวม 4 ปี เป็นเจ้าหน้าที่ และเกษตรกร จำนวน 684 ราย

ส่งเสริมการใช้สารธรรมชาติป้องกัน กำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เช่น สารสะเดา และน้ำคั้นสับปะรด

ตารางเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตต่อไร่โดยวิธีชีวภาพ (โรงเรียนชาวนา) และแปลงที่ใช้สารเคมี ปี ๒๕๕๔ รายการ แปลงที่ใช้สารเคมี แปลงที่ใช้วิธีชีวภาพ จำนวน (กก.) จำนวนเงิน (บาท/ไร่) อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ ๒๕ ๕๕๐ ๑๐ ๒๒๐ ค่าหว่าน ๕๐ ค่าเตรียมดิน (ตีดิน, ทำเทือก) ยาคุมเลน ค่าฉีดยาคุมเลน ยาคุมหญ้า ค่าฉีดยาคุมหญ้า ๔๐๐ ๒๐๐ ๑๐๐ การใส่ปุ๋ย - ครั้งที่ ๑ (ข้าว ๒๕-๓๐ วัน) ๑๖-๒๐-๐ ค่าหว่านปุ๋ย - ครั้งที่ ๒ (ข้าว ๔๕-๕๐ วัน) ๑๖-๒๐-๐ - ครั้งที่ ๓ (ข้าว ๖๐-๗๐ วัน) ๔๖-๐-๐ ๔๔๐ ๑๗๐ ปุ๋ยละลายช้า ฮอร์โมนบำรุงต้น+สารสะเดากำจัดแมลง ค่าฉีด ๕ ๑๕๐

ตารางเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตต่อไร่โดยวิธีชีวภาพ (โรงเรียนชาวนา) และแปลงที่ใช้สารเคมี ปี ๒๕๕๔ รายการ แปลงที่ใช้สารเคมี แปลงที่ใช้วิธีชีวภาพ จำนวน (กก.) จำนวนเงิน (บาท/ไร่) สารเคมีกำจัดศัตรูพืช - ครั้งที่ ๑ (๑๕-๒๐ วัน) ยาฆ่าแมลง ค่าฉีดยา - ครั้งที่ ๒ (๕๐-๖๐ วัน) ยาฆ่าแมลง - ครั้งที่ ๓ (๗๐ วัน) ยากำจัดโรคแมลง ๒๐๐ ๕๐ ๓๐๐ - ฮอร์โมนบำรุงต้น+สารสะเดากำจัดแมลง - ค่าฉีด - น้ำส้มควันไม้ป้องกันกำจัดหนู และเชื้อบิวเวอร์เรีย ๐.๕ ๑๐๐ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ๖๐ ค่าเช่านา ๑,๐๐๐ ค่ารถเกี่ยว ๕๐๐ ผลผลิต/ราคา (๑๐,๕๐๐ บาท/เกวียน) ๘๐๐ กก./๘,๔๐๐ บาท ต้นทุน/ไร่ ๕,๒๓๐ บาท กำไร ๓,๑๗๐ บาท ต้นทุน/ไร่ ๓,๗๕๐ บาทกำไร ๔,๖๕๐ บาท

อาจารย์พรรณพิมล ปันคำ และอาจารย์สุวัฒน์ ทรัพย์ประภา ร่วมเป็นวิทยากรในการความรู้เกี่ยวกับการลดต้นทุนการผลิต การป้องกัน และกำจัดศัตรูพืช

ประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับ เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตต่อไร่ เกษตรกรมีสุขภาพแข็งแรง ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้าง เกษตรกรสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดสู่เกษตรกรรายอื่นๆได้

ภาพกิจกรรมโรงเรียนชาวนา พิธีหว่านข้าว

ภาพกิจกรรมโรงเรียนชาวนา การเรียนการสอน

ภาพกิจกรรมโรงเรียนชาวนา การเรียนการสอน

ภาพกิจกรรมโรงเรียนชาวนา การเรียนการสอน