ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน ณ กรมส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

หลักสำคัญแห่งความยิ่งใหญ่ของการขาย (The Principle of Selling)
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนางานประจำเป็นงานวิจัย Routine to Research (R2R)
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
1. ผู้นำที่สามารถก่อให้เกิดความร่วมมือที่ดี ควรเสริมสร้างบรรยากาศที่แจ่มชัด สบายใจ และผนึกกำลังกันในคณะทำงาน สบายใจ และผนึกกำลังกันในคณะทำงาน - เขาเป็นเสมือนแผงสวิตส์ไฟฟ้ากลางที่คอยติดตาม.
ต้องอย่างนี้ซิ! ถึงจะปรับปรุงงานได้จริง
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
การวางแผนกลยุทธ์.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
งานธุรการ.
มหาวิทยาลัย ต้องการชุด โครงการแบบไหน. น่าจะเริ่มต้นถามว่า ต้องการผลงานแบบไหน จากชุดโครงการวิจัย.
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
บูรณาการการพัฒนาคุณภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
การบริหารความพึงพอใจของทีมงาน
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ความดีเด่นของสถานศึกษา
Good Corporate Governance
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน 18 สิงหาคม 2551 ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
ติดตามหนี้อย่างไร ให้ได้ผล-ได้เงิน รักษาลูกค้า
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Road Map KM 2551.
การสร้างวินัยเชิงบวก
เราเป็นผู้นำ.
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
"ฉลาดวางแผน" (SMART Planning) ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสร้างวัฒนธรรมวิจัยให้นักเรียน
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
การวางแผนยุทธศาสตร์.
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
WHAT IS THE PROJECT?.  งานต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อทำให้ วัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงสำเร็จ ลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด คุณจะ พัฒนาผลการดำเนินงานได้ด้วย การคิดหางานที่จะช่วยให้บรรลุ
การบริหารจัดการ Input Process Output Outcome (ปัจจัย) (กระบวนการ)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน ณ กรมส่งเสริมการเกษตร 7 พฤศจิกายน 2550 ณ กรมส่งเสริมการเกษตร การวางแผนกลยุทธ์

การวางแผนกลยุทธ์ การวางแผน ที่มี “เป้าหมาย” ชัดเจน และมี “ความมุ่งมั่น” ในการบรรลุเป้าหมายนั้น ม.ค. ๒๕๔๘

คือ “กระบวนการ จัดทำแผนกลยุทธ์ แบบมีส่วนร่วม” ที่ผู้จัดทำแผนฯ เป็นผู้นำแผนนั้น ไปปฏิบัติด้วยตนเอง (ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ไม่ใช่ ‘แผนสั่งการ’ - Top Down) M O P ๒๙ ต.ค. ๕๐

“ผลลัพธ์”สำคัญที่ได้จากกระบวนการวางแผนที่ดี คือ “ความรู้สึก”... - มุ่งมั่น - มั่นใจ - ไม่กลัว - คิดบวก - เราทำได้ ๆ และท้ายที่สุด คือ “ทีม” M O P ๒๙ ต.ค. ๕๐

MOPP M “เป้าใหญ่” O 1 “O” คือ “เป้าย่อย” ของแต่ละ “CP” P-project M: Mission O: Objective P: Policy P: Project M “เป้าใหญ่” CP1 M & O : ต้องมีเป้าหมายที่เป็น “ตัวเลข” และมีกำหนด “เวลา” ที่จะบรรลุกำกับ CP : “จุดคอขวด” คือ จุดที่ต้องดูแลเป็น พิเศษ และใช้ในการกำหนด “O” CP2 CP3 CP4 O 2 O 3 O 4 O 1 KPI1…KPI3 “O” คือ “เป้าย่อย” ของแต่ละ “CP” LoA / S A1 A2 A3 LoA = List of Actions, A = Action, S = Strategy P-project มี 2 ประเภท คือ (1) โครงการเพื่อ ใช้ขยายผล และ (2) โครงการวิจัยและพัฒนา (R&D project) ซึ่งตั้ง “โจทย์” จาก “จุดคอขวด” ประเภทที่ 3 & 4 เท่านั้น P-project ๓๑ ต.ค. ๕๐

M (Mission) (“เป้าใหญ่”) - เป้าหมายชัดเจน (มีตัวเลข) ท้าทาย และ ต้องมีกำหนดเวลา (<1 ปี) ที่จะบรรลุ - สอดคล้องกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ สถานการณ์แวดล้อม ความจำเป็น และ ศักยภาพของทีมงานและองค์กร - มั่นใจว่าสามารถบรรลุเป้าหมายได้ - ใช้ ‘คำ’ สั้นๆ เพื่อให้ทุกคนจำได้ง่าย ๒๙ ต.ค. ๕๐

ประสิทธิผล - ‘เป้าหมาย’? - ‘จุดคอขวด’? (เร็ว ช้า หนัก เบา) ประทีป (๑๙ ต.ค. ๔๙)

ปัญหา (Problem) ช่องว่าง (Gap) ระหว่าง สภาพที่เกิดขึ้นจริง กับเป้าหมายที่กำหนดไว้ ประทีป (๗ ธ.ค. ๒๕๔๘)

“ความยาก” เกิดจาก “ความง่าย” มารวมกัน บุญฤทธิ์ (LION) ๒๗ ก.ย. ๔๙

? ‘จุดคอขวด’ มี 4 ประเภท วิธีขจัด ‘จุดคอขวด’ มี ไม่มี รู้ ไม่รู้ ความรู้? เทคโนโลยี? ทักษะ? อุปกรณ์? “ทางเลือก” ท้าทาย วิธีขจัด ‘จุดคอขวด’ มี ไม่มี “หาสาเหตุ” 3 4 1 2 รู้ ไม่รู้ สาเหตุของ ‘จุดคอขวด’ ประทีป (๑๒ ก.พ. ๕๐)

CP (Critical Point) (“จุดคอขวด”) - ‘จุด’ สำคัญๆ ที่กำหนดระดับความสำเร็จ ของเป้าใหญ่ (M) จึงต้องดูแลเป็นพิเศษ เรียกว่า ‘จุดคอขวด’ (จุดเป็นจุดตาย) - เลือก ‘จุดคอขวด’ ประเภท 1 & 2 เท่านั้น คือ ทีมงานสามารถขจัดได้เอง (พึ่งตนเอง) โดยใช้หลักคิด ‘เร็ว ช้า หนัก เบา’ - เลือก ‘จุดคอขวด’ ที่ ‘ทำน้อย ได้มาก’ ๒๙ ต.ค. ๕๐

ประสิทธิผล ขจัด ‘จุดคอขวด’ ไหน? ทำ ได้ผล ประสิทธิผล ขจัด ‘จุดคอขวด’ ไหน? ทำ ได้ผล X 80 20 ? 50 50 20 80 

‘จุดคอขวด’ (Critical Point, CP) ‘เป้าใหญ่’(ความสำเร็จ) 100 100% 90 10 75 15 1 ‘เป้าใหญ่’ แนะนำให้เลือกเพียง 4 ‘จุดคอขวด’ ใช้หลักคิด “เร็ว ช้า หนัก เบา” “ทำ 20 ได้ 80” 25 50 ‘เป้าใหญ่’(ความสำเร็จ) 50 จุดคอขวด 25 15 10 CP1 CP2 CP3 CP4 ประทีป (๑๓ ต.ค. ๔๙)

M1: … “เป้าใหญ่” จุดคอขวด “จุดคอขวด” ประเภท สาเหตุ วิธีแก้ไข “จุดคอขวด” ประเภท สาเหตุ วิธีแก้ไข .…….. 1 ........ รู้ ......... รู้ .…….. 2 ........ ไม่รู้ ......... รู้ .…….. 3 ........ รู้ ......... ไม่รู้ .…….. 4 ........ ไม่รู้ ......... ไม่รู้ ๒๑ เม.ย. ๕๐

O (Objective) (“เป้าย่อย”) - เป้าหมายของแต่ละ ‘จุดคอขวด’ (1 ‘CP’ และต้องมีกำหนดเวลาที่จะบรรลุ - ถ้อยคำที่ใช้ใน ‘เป้าย่อย’ เหมือนกับที่ใช้ ใน ‘จุดคอขวด’ เพียงแต่มีความหมาย ตรงกันข้าม เช่น ไม่มี (ขาด)/มี - แต่ละ ‘เป้าย่อย’ มีกำหนดเวลาบรรลุที่ แตกต่างกัน เป้าหมายใดควรบรรลุก่อน? ๒๙ ต.ค. ๕๐

ประสิทธิภาพ “วิธี” ที่ “คุ้มค่า” ที่สุด ใช้ขจัด “จุดคอขวด” (เร็วกว่า ถูกกว่า ดีกว่า) “วิธี” ที่ “คุ้มค่า” ที่สุด (บาง เบา สั้น) ใช้ขจัด “จุดคอขวด” ประเภท 1 & 2 ประทีป (๑๙ ต.ค. ๔๙)

A (Action) (List of Actions, LoA) - ‘วิธี’ (ชุดกิจกรรม) ขจัด ‘จุดคอขวด’ ที่ให้ผล ‘คุ้มค่า’ ที่สุด คือ เร็วกว่า ถูกกว่า ดีกว่า - ต้องไม่ติดยึดวิธีเก่าๆ หรือความเคยชินของ ตนเอง เพราะสถานการณ์เปลี่ยนไปแล้ว - ใช้หลักคิด ‘มีนั่น เพราะมีนี่’ ในการกำหนด ‘กิจกรรม’ (A) โดยตั้งคำถามว่า ‘ทำไม...?’ 5 ครั้ง (5 Why) ต่อเนื่องกัน และใช้ A1 ขจัด ‘ต้นตอ’ ของปัญหาแต่ละ ‘จุดคอขวด’ ๒๙ ต.ค. ๕๐

O1 : เครื่องจักรทำงานได้ใน wk1 1. ทำไมเครื่องจักรหยุดทำงาน? - เพราะฟิวส์ขาด สาเหตุจากเครื่องจักรทำงานมากเกินไป 2. ทำไมเครื่องจักรทำงานมากเกินไป? - เพราะว่าการล่อลื่นที่ประเก็นไม่เพียงพอ 3. ทำไมการหล่อลื่นที่ประเก็นไม่เพียงพอ? - เพราะว่าปั๊มหล่อลื่นทำงานไม่ปกติ 4. ทำไมปั๊มหล่อลื่นทำงานไม่ปกติ? - เพราะว่าแกนปั๊มหัก 5. ทำไมแกนปั๊มหัก? - เพราะเครื่องกรองมีขี้น้ำมันอยู่ข้างใน A3 A2 A1 ไคเซ็น : กุญแจสู่ความสำเร็จแบบญี่ปุ่น โดย Masaaki Imai

แผนกลยุทธ์ หมายเหตุ ให้ “วงกลม” ล้อมรอบเฉพาะ “หมายเลข” ที่ต้องทำ “กิจกรรม (Action)” (๑๐ ก.ย. ๕๐) M (เป้าใหญ่) : ….………………………………….................................................................... CP1 …..…………........ ................................. O1 (เป้าย่อย) .……..... 1. ทำไม CP1 เพราะ ................................. …………………………. 2. เพราะ..................... 3. เพราะ..................... 4. เพราะ..................... 5. เพราะ..................... CP2 ………..……........ ................................. O2 (เป้าย่อย) .……..... 1. ทำไม CP2 เพราะ ................................. …………………………. 2. เพราะ..................... 3. เพราะ..................... 4. เพราะ..................... 5. เพราะ..................... CP3 …………..…........ ................................. O3 (เป้าย่อย) .……..... 1. ทำไม CP3 เพราะ ................................. …………………………. 2. เพราะ..................... 3. เพราะ..................... 4. เพราะ..................... 5. เพราะ..................... CP4 …..…………........ ................................. O4 (เป้าย่อย) .……..... 1. ทำไม CP4 เพราะ ................................. …………………………. 2. เพราะ..................... 3. เพราะ..................... 4. เพราะ..................... 5. เพราะ.....................

S (Strategy) (“กลยุทธ์”) พลิกแพลงให้ได้ผล - รู้เขา รู้เรา - เลือกสมรภูมิ (‘รบแพ้ ไม่รบ’) - พลิกสถานการณ์โดยใช้กลยุทธ์ - ทำให้เกิด Win-Win - 1 ‘เป้าย่อย’ อาจใช้มากกว่า 1 ‘กลยุทธ์’ ๒๙ ต.ค. ๕๐

Pตัวแรก (Policy) (“นโยบาย”) - นโยบายจาก ‘เบื้องบน’ - นโยบายขององค์กร - นโยบายของหน่วยงาน ๒๙ ต.ค. ๕๐

Pตัวหลัง (P-project) (“โครงการ”) - โครงการสนับสนุนแต่ละ ‘เป้าย่อย’ ประกอบ ด้วยโครงการ 2 ประเภท ดังนี้ (1) โครงการเพื่อใช้ขยายผล (Extension) เป็นโครงการที่มั่นใจว่า ได้ผลดีแน่นอน เรียกว่า ‘โครงการส่งเสริม’ (‘จุดคอขวด’ 1&2) (2) โครงการวิจัยและพัฒนา (R&D) ใช้ ‘จุดคอขวด’ ประเภท 3 เป็น ‘โจทย์’ เพื่อหา ‘ทางเลือก’ ที่ดีที่สุด ทำให้ ‘จุดคอขวด’ ประเภท 3 จะกลายเป็น ‘จุดคอขวด’ ประเภท 1 และใช้ ‘จุดคอขวด’ ประเภท 4 เป็น ‘โจทย์’ เพื่อหา ‘สาเหตุ’ ทำให้ ‘จุดคอขวด’ ประเภท 4 กลาย เป็น ‘จุดคอขวด’ ประเภท 3 แล้วจึงหา ‘ทางเลือก’ ในขั้นตอนต่อไป - เป็น ‘โจทย์’ สำหรับใช้สร้าง ‘นวัตกรรม’ ๒๙ ต.ค. ๕๐

เป้าหมายของการวิจัย ใช้ “ จุดคอขวด ” ประเภท 3 & 4 เป็น “ โจทย์ R & D ” ความรู้ เทคโนโลยี / นวัตกรรม ใช้ “ จุดคอขวด ” ประเภท 3 & 4 เป็น “ โจทย์ R & D ” เพื่อพัฒนา - หลักสูตร - การตลาด - การเรียน - โลจิสติกส์ การสอน - คุณภาพ - สื่อ - ประสิทธิภาพ - ทรัพยากร - ต้นทุน ธรรมชาติ - ผลิตภัณฑ์ - สิ่งแวดล้อม - การบริการ - คุณธรรม - ฯลฯ ๒๖ ก.ย. ๕๐

ขั้นตอนสู่ “เป้าหมาย” เข้าใจ 1. “เป้าหมาย” (M / DM / SM)? & 2. “ปัญหา” (Gap)? เข้าถึง 3. สถานการณ์ / ความจำเป็น? (5?) 4. “จุดคอขวด” (CP / DCP / SCP)? 5. “LoA” / “S” ใช้ขจัด “จุดคอขวด”? พัฒนา 6. ทำตาม “LoA” / “S” ที่กำหนดไว้ 7. วัด “ผล” ที่เกิดขึ้น 8. ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (เป้าหมาย?) โดยเริ่มขั้นที่ 1 ใหม่ ประทีป (๑ ส.ค. ๕๐)