รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
โครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ประโยชน์จากฟางข้าว โครงการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัย มก. ประจำปีงบประมาณ โครงการวิจัยรหัส การฝึกอบรมการผลิตเห็ดในถุงพลาสติกโดยใช้ฟางข้าวหมักและมอบเครื่องอัดฟางข้าวหมักและเครื่องสับฟางข้าวขนาดเล็กให้แก่กลุ่
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
ผลการปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์
และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
3 September องค์กร เกษตรกร การผลิต ปัจจัยพื้นฐา น - ดิน - น้ำ - แรงงาน ปัจจัยการผลิต - พันธุ์ - เทคโนโลยี การใส่ปุ๋ย การป้องกันโรค.
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ภาพรวมงานวิจัยหน่วยงาน
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
การฝึกงานสัตวศาสตร์ 3.
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
ประวัติส่วนตัว Free Powerpoint Templates.
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โครงสร้างสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดระนอง
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3 นายสุวัฒพงษ์ สิทธิแต้สกุล รหัส 5212402095 คณะเกษตรศาสตร์ สาขา สัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ประวัติศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีอำนาจเจริญ ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีอุบลราชธานี เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งตามกฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2545 โดยปรับเปลี่ยนจากสถานีพืชอาหารสัตว์อุบลราชธานี การปฎิบัติงานอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของส่วนศึกษาและพัฒนาการปศุสัตว์สำนักงานสุขศาสตร์สัตว์สุขอนามัยที่ 3 จังหวัดนครราชสีมา (ตั้งแต่เดือน พ.ย. 2548) ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยีกลมปศุสัตว์ และเปลี่ยนชื่อศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีอำนาจเจริญเมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2553 ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีอำนาจเจริญ กม.ที่ 9 ต.โนนหนามแท่ง อ.เมือง จ.อำนาจเจริญ

งานที่ได้รับมอบหมาย ฝึกกระบือไถนาเพื่อการส่งออก เพื่อเพิ่มราคาในการขาย ดูแลให้นมลูกวัว ดูแลสัตว์และคอยสังเกตอาการต่างๆของสัตว์ที่อยู่ในศูนย์ ช่วยนักวิชาการสัตบาล ออกพื้นที่ให้คำแนะนำกับเกษตรกร ให้หญ้าแพะ

รักษาอาการป่วยของแม่โค

ฉีดยาให้แม่โคพื้นเมือง

การทำอาหารหมักให้สุกร ต้นกล้วย กระถิน ฝักตบชวา สับให้มีขนาดที่เล็ก นำมาผสมกับเกลือและน้ำตาลทรายขาวในปริมาณ เกลือ 10 กก น้ำตาลทรายแดง 10 กก และต้นกล้วย กระถิน ผักตบชวา 80 กก ผสมให้เข้ากัน หมักประมาณ 1 อาทิตย์ ให้โปรตีน 20-25 เปอร์เซ็น

การทำอาหารหมักให้สุกรเลี้ยงในแปลงหญ้า เลี้ยงแบบอินทรีย์

ฝึกกระบือไถนาเพื่อเพิ่มมูลค่าในการขาย กระบือที่สามารถไถนาได้จะมีราคาที่สูง และเป็นที่ต้องการของตลาดในการส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เช่นเวียดนาม ที่กำลังมีความต้องการกระบือเพื่อไปทำการเกษตร และเนื้อกระบือที่เป็นที่นิยมในประเทศ กระบือมีราคาที่สูงกว่าโคในปัจจุบันนี้เพราะกระบือสามารถขายซาก(เนื้อ)และยังสามารถใช้แรงงานที่หนักได้ เช่น งานทางการเกษตร ไถ่ พรวน และใช้ลากเกวียนเพื่อขนของที่ได้จากการเกษตร มูลค่าที่เพิ่มขึ้นของกระบือที่ไถนาได้จะขึ้นประมาณ 4000-5000 ต่อตัว กระบือที่จะนำมาฝึกต้องเป็นกระบือหนุ่ม สาว ที่เหมาะในการใช้งาน และจะมีอายุการใช้งานได้หลายปี และได้ราคาดี

ให้คำแนะนำเกษตรกรที่เลี้ยงกระบือ โดยนักวิชาการ

ให้เกษตรกรผู้เข้ารับการอบรมลองฝึกไถ

ให้อาหารแพะ

ปัญหาและอุปสรรค เนื่องจากกระบือยังไม่เคยฝึกไถมาก่อนจึงยากแก่การฝึก กระบือทนแดดที่ร้อนจัดไม่ได้ ดินที่แห้งและแข็งทำให้กระบือใช้แรงมากกว่าเดิมและเกิดความหงุดหงิดและอาจจะวิ่งได้ กระบือยังไม่เกิดความเคยชินกับผู้ฝึกและตกใจได้ง่าย กระบือมีขนาดตัวที่ใหญ่จึงยากแก่การควบคุม