โครงการกลุ่มจังหวัด ๕๕ มิติภาคการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
Advertisements

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
โครงการเรียนฟรี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ โครงการเรียนฟรี 15 ปี
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ผู้สูงอายุ ( อายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป ) ประเภท ค่าธรรมเนี ยม ค่า สมัคร รวมเงิน ( บาท / ปี ) นักเรียน ( ป. ๑ – ม. ๖ ) ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ นักศึกษา ( อุดมศึกษา )
งานด้านเด็ก ในปี พ.ศ.๒๕๔๘ รับเด็กใหม่เข้ามา จำนวน ๑๓ คน มีเด็กรวมทั้งสิ้น ๑๔๔ คน แยกเป็นประเภทดังนี้ ประเภท จำนวน/คน เด็กกำพร้า ๓๑ เด็กยากจน ๔๑ ครอบครัวแตกแยก.
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
โครงการเร่งรัฐปฏิบัติการด่วน (เพื่อคนไทย) หรือโครงการปฏิบัติการประชาวิวัฒน์ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมและเป็นธรรม.
กระบวนการจัดทำงบประมาณ
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครพนม
สำนักงานเลขานุการกรม
หลักเกณฑ์ และ ระเบียบการเงิน สำหรับเครือข่าย iTAP
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
ลพบุรี นายสมชัย ฉายศรีศิริ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
จังหวัดภาคใต้ชายแดน 9.1 (ยะลา)
รายละเอียด แผ่น CD Folder 1 KM เอกสารชุดความรู้ สตน. ๒๕๕๓ รวม ๑๓ บท และ เอกสารอ้างอิง ( ๓๐๙ หน้า ) Folder 2 KM ชุดนำเสนอ ( Power Point.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันไข้เลือดออก เนื่องในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๖ “รวมพลังเร่งรัดกำจัดลูกน้ำ”
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ ชลประทาน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๖ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ ชลประทาน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๖ โครงการที่ได้รับอนุมัติ งบลงทุน ( โครงการ.
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน ปีงบประมาณพ. ศ. ๒๕๕๕ โครงการงบประมา ณ โอน จัดสรร เบิกจ่าย ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนิน งาน ( ร้อย ละ ) ๑. ปรับแก้ โครงข่ายหมุด.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
๒. แผนอาชีวเวชศาสตร์ใน ทร.
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
วันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
กิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์ น้ำ กลุ่มบริหารจัดการด้าน การประมง.
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
บทบาทหน้าที่ครูแกนนำ
แบบประวัติและผลงานดีเด่น “ เกษตรกรดีเด่น ” ปี 2555 สาขา อาชีพทำนา นายวิสา ยางเอน 42 หมู่ 1 ตำบลนาวังหิน อำเภอพนัสนิคม.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
โครงการความร่วมมือของ บวร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
สรุปผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2554
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
นนทบุรี สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
FCT คปสอ./รพ.สต.ติดดาว ปี ๒๕๕๘ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๗.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการกลุ่มจังหวัด ๕๕ มิติภาคการเกษตร ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ค่าเป้าหมาย การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและจัดการสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา/ป่าสัก และลุ่มน้ำสาขามีคุณภาพมาตรฐาน คุณภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำป่าสักโดยเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าเกณฑ์พอใช้ ๔ จังหวัด ๑๖ อำเภอ (เพิ่มมวกเหล็ก)

โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์แม่น้ำเจ้าพระยา และป่าสักด้านการเกษตร (ระยะที่ ๒) วัตถุประสงค์ 1. สร้างองค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ สิ่งแวดล้อมในสังคมเกษตรและชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาป่าสัก 2. พัฒนาต้นแบบการทำการเกษตร ที่เป็นมิตรต่อทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อม 3. ลดมลภาวะจากน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลจากภาคเกษตรกรรม 4. ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้

กิจกรรม ระบบการผลิตที่ลดมลภาวะด้านการเกษตรกรรม (Reduce) ๕ กิจกรรมย่อย ขยายเครือข่ายกลุ่มผลิตเชื้อบิวเวอร์เรีย /ไตรโคเดอร์ม่า พัฒนาระบบการบริหารจัดการกลุ่มแทรกเตอร์ สาธิตระบบการผลิตข้าว ที่ลดมลภาวะทางด้านเกษตรกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงดินโดยใช้ปูนมาร์ล, ปุ๋ยพืชสด พัฒนาอาสาสมัครเพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังมลพิษภาคเกษตร 503 หมู่บ้าน

กิจกรรมย่อยพัฒนาอาสาสมัครเพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังมลพิษภาคเกษตร ต่อเนื่องขยายผลจาก ปี ๒๕๕๔ อย.๒๖๖ คน สบ.๑๗๓ คน ปท.๓๑ คน นบ.๓๓ คน ๖๒๑,๓๐๐ บาท ฝึกอบรม ๑ ครั้ง สัมมนา ๑ ครั้ง อาสาสมัครมีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น 503 คน

ค่าใช้จ่าย ฝึกอบรม ๑.ค่าตอบแทนวิทยาการ ๔๒ ชั่วโมง ๆ ละ ๖๐๐ บาท เงิน ๒๕,๒๐๐ บาท ๒.ค่าอาหารกลางวัน ๑ มื้อ ๆ ละ ๑๕๐ บาท เงิน ๗๕,๔๕๐ บาท ๓.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒ มื้อ ๆ ละ ๒๕ บาท เงิน ๒๕,๑๕๐ บาท ๔.ค่าพาหนะ (เหมาจ่าย) คนละ ๑๐๐ บาท เงิน ๕๐,๓๐๐ บาท ๕.ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารการฝึกอบรม คนละ ๑๐๐ บาท เงิน ๕๐,๓๐๐ บาท (คู่มือและชุดเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลเฝ้าระวังมลพิษจากภาคเกษตรของอาสาสมัครเกษตร)

ค่าใช้จ่าย สัมมนา (สถานที่เอกชน) ๑.ค่าอาหารกลางวัน ๑ มื้อ ๆ ละ ๒๕๐ บาท เงิน ๑๒๕,๗๕๐ บาท ๒.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒ มื้อ ๆ ละ ๒๕ บาท เงิน ๒๕,๑๕๐ บาท ๓.ค่าพาหนะ (เหมาจ่าย) คนละ ๑๐๐ บาท เงิน ๕๐,๓๐๐ บาท ๔.ค่าวัสดุการจัดสัมมนา คนละ ๒๐๐ บาท เงิน ๑๐๐,๖๐๐ บาท บริหารโครงการ ๑.เบี้ยเลี้ยง พาหนะ เจ้าหน้าที่ ๔๕,๖๐๐ บาท ๒.วัสดุสำนักงาน ๔๗,๕๐๐ บาท

กิจกรรย่อยพัฒนาระบบการบริหารจัดการกลุ่มแทรกเตอร์ ต่อเนื่องขยายผลจาก ปี ๒๕๕๔ สบ. ๔ กลุ่ม ปท. ๒ กลุ่ม นบ. ๒ กลุ่ม (กลุ่มละ ๑๐คน รวม ๘๐ คน) ๔๘,๐๐๐ บาท สัมมนา ๑ ครั้ง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุ่มแทรกเตอร์เพิ่มขึ้น

ค่าใช้จ่าย สัมมนา (สถานที่เอกชน) ๑.ค่าอาหารกลางวัน ๑ มื้อ ๆ ละ ๒๕๐ บาท เงิน ๒๐,๐๐๐ บาท ๒.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒ มื้อ ๆ ละ ๒๕ บาท เงิน ๔,๐๐๐ บาท ๓.ค่าพาหนะ (เหมาจ่าย) คนละ ๑๐๐ บาท เงิน ๘,๐๐๐ บาท ๔.ค่าวัสดุและเอกสารการสัมมนา คนละ ๒๐๐ บาท เงิน ๑๖,๐๐๐ บาท

กิจกรรย่อยขยายเครือข่ายกลุ่มผลิตเชื้อบิวเวอเรีย ไตรโคเดอร์มา ต่อเนื่องขยายผลจาก ปี ๒๕๕๔ จำนวนเครือข่ายกลุ่มผลิตเชื้อบิวเวอเรีย ไตรโคเดอร์ม่าเพิ่มขึ้น อย. ๓๐ กลุ่มสบ. ๓๐ กลุ่ม ปท. ๒๐ กลุ่ม นบ. ๒๐ กลุ่ม รวม ๑๐๐ กลุ่ม ๕,๑๑๕,๐๐๐ บาท อบรม ๕๐๐ คน วัสดุผลิต ๕๐๐ กลุ่ม

ค่าใช้จ่าย อบรมเชิงปฏิบัติการ (ณ ที่ทำการกลุ่ม) ๑.ค่าอาหารกลางวัน ๑ มื้อ ๆ ละ ๑๕๐ บาท เงิน ๗๕,๐๐๐ บาท ๒.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒ มื้อ ๆ ละ ๒๕ บาท เงิน ๒๕,๐๐๐ บาท บริหารโครงการ ๑.เบี้ยเลี้ยง พาหนะ เจ้าหน้าที่ ๔๘,๐๐๐ บาท วัสดุผลิต กลุ่มละ ๑ ชุด ๆ ละ ๔๙,๖๗๐ บาท

กิจกรรย่อยระบบการผลิตข้าวที่ลดมลภาวะทางด้านเกษตรกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กิจกรรมเสริม สาธิตระบบการผลิตข้าวที่ลดมลภาวะทางด้านเกษตรกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม วันสาธิต 3 ครั้ง อย. ๑ ครั้ง สบ. ๑ ครั้ง นบ. ๑ ครั้ง แปลงสาธิตจังหวัดละ ๑๐๐ ไร่ รวม ๓๐๐ ไร่ ๘๑๓,๐๐๐ บาท วันสาธิตและแปลงสาธิตปลูกข้าวด้วยวิธีโยนกล้า

ค่าใช้จ่าย ๑.ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสาธิต ครั้งละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท รวม ๓๐๐,๐๐๐ บาท ๒.ค่าเตรียมแปลงสาธิต ครั้งละ ๕,๐๐๐ บาท รวม ๑๕,๐๐๐ บาท ๓.ค่าพันธุ์พืชปุ๋ยสด ๓๐๐ ไร่ ๆ ละ ๒๐๐ บาท เงิน ๖๐,๐๐๐ บาท ๔.ค่าพันธุ์ต้นกล้าข้าว ๓๐๐ ไร่ ๆ ละ ๙๑๐ บาท เงิน ๒๗๓,๐๐๐ บาท ๕.ชุดนิทรรศการ ๓ ชุด เงิน ๑๕,๐๐๐ บาท (การปลูกข้าวแบบโยนกล้า) ๖.ค่าสารชีวภัณฑ์เพิ่มผลผลิต วงเงิน ๑๓๕,๐๐๐ บาท บริการโครงการ ๑.วัสดุสำนักงาน ๑๕,๐๐๐ บาท