สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
Advertisements

บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
8.4 Stoke’s Theorem.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
จงหาส่วนประกอบของแรงในแนว ทำกับประจุที่จุดA(3,4,12) โดย F
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
การพัฒนาระบบตรวจหาจุดที่เกิดเหตุการณ์การคายประจุไฟฟ้าสถิตแบบไร้สายสำหรับสายงานการผลิตฮาร์ดดิสก์ Development of a Wireless Electrostatic Discharge (ESD)
กิจกรรมที่ 1 ข้อตกลงการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
พิจารณาหา D ในช่วง a< ρ <b
9.7 Magnetic boundary conditions
Electromagnetic Wave (EMW)
รูปร่างและรูปทรง.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
แรงไฟฟ้า และ สนามไฟฟ้า
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
จงหาค่าอินทิกรัลสามชั้นของ.
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
ว ความหนืด (Viscosity)
Electric force and Electric field
Electric field line Electric flux Gauss’s law
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ระบบอนุภาค.
Function and Their Graphs
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
ผศ.กสิณ ประกอบไวทยกิจ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
( รูปเรขาคณิตสามมิติ )
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
วิทยาศาสตร์ Next.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ปริมาตรกรวย ปริมาตรกรวย = ของทรงกระบอก ปริมาตรกรวย =  สูง.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทรงกลม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ความหนาแน่นสนามไฟฟ้า ทฤษฎีของเกาส์ และ หลักไดเวอร์เจนต์ กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ความหนาแน่นสนามไฟฟ้า (Electric Field Density) “ความหนาแน่นสนามไฟฟ้า ไม่ใช่ ความเข้มสนามไฟฟ้า แต่สามารถหมายความถึงความหนาแน่นของประจุไฟฟ้า” จำนวนเส้นสนามไฟฟ้า [C] จำนวนประจุไฟฟ้า [C]

ความหนาแน่นสนามไฟฟ้า (Electric Field Density) ดังนั้น และจาก ดังนั้นเราจะได้ว่า

กฎของเกาส์ (Gauss’s Law) “จำนวนเส้นสนามไฟฟ้า (ที่เกิดจากประจุไฟฟ้า) ที่ผ่านทะลุผิวของพื้นที่ที่คลุมประจุไฟฟ้านั้นอย่างมิดชิดไว้จะมีค่าเท่ากับจำนวนประจุไฟฟ้านั้น” ความหนาแน่นสนามไฟฟ้า พื้นที่ที่ พุ่งทะลุผ่าน

กฎของเกาส์ (Gauss’s Law) ความหนาแน่นสนามไฟฟ้าที่ตั้งฉากกับพื้นที่ ดังนั้น โดย หมายถึงการอินทิกรัลพื้นที่แบบปิด และพื้นที่ที่ครอบคลุมประจุไฟฟ้า [C] เราจะเรียกว่า ผิวเกาส์เซียน

กฎของเกาส์ (Gauss’s Law) และ สำหรับประจุที่เป็นจุด สำหรับ Line Charge สำหรับ Surface Charge สำหรับ Volume Charge

การนำกฎของเกาส์ไปใช้ ความเข้มสนามไฟฟ้าจากประจุไฟฟ้าเป็นจุด

การนำกฎของเกาส์ไปใช้ ความเข้มสนามไฟฟ้าจาก Line Charge

การนำกฎของเกาส์ไปใช้ ความเข้มสนามไฟฟ้าจาก Surface Charge ความหนาแน่นของสนามไฟฟ้าที่ มีค่า

การนำกฎของเกาส์ไปใช้ โดย ความเข้มสนามไฟฟ้าจะพุ่งออกจากผิวของเคเบิลสายในผ่านไปยังผิวของเคเบิลสายนอกและสิ้นสุดตรงนั้น

การนำกฎของเกาส์ไปใช้ การคำนวณหาประจุไฟฟ้าที่จุดใด ๆ เพราะว่า พท.ด้านหน้า พท.ด้านหลัง พท.ด้านขวา พท.ด้านซ้าย พท.ด้านบน พท.ด้านล่าง โดยที่

การนำกฎของเกาส์ไปใช้ และในทำนองเดียวกันทางด้านหลัง ดังนั้น

การนำกฎของเกาส์ไปใช้ ดังนั้นเมื่อจับครบทั้งสามด้านจะได้ หรือ ซึ่งเมื่อ

ไดเวอร์เจนซ์ (Divergence) “ค่าไดเวอร์เจนซ์ของความหนาแน่นสนามไฟฟ้าคือ จำนวนเส้นสนามไฟฟ้าที่พุ่งออกจากพื้นที่ผิวปิดที่เล็กมากต่อจำนวนปริมาตรที่เข้าใกล้ศูนย์” Maxwell’s Equation

ไดเวอร์เจนซ์ (Divergence) ระนาบพิกัดฉาก ระนาบทรงกระบอก ระนาบลูกบาศก์ทรงกลม

เวกเตอร์โอเปอเรเตอร์เดล(Vector Operator Del) กำหนดให้ และ จะได้ว่า

เวกเตอร์โอเปอเรเตอร์เดล(Vector Operator Del) จาก และ ดังนั้น “สมการนี้แสดงความสัมพันธ์ของการอินทิกรัลพื้นที่ผิวปิด กับการอินทิกรัลเชิงปริมาตร”