งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 วัตถุประสงค์ เข้าใจความหมายของงานและพลังงาน
เข้าใจความหมายและหาค่าของประสิทธิภาพได้ อธิบายโครงสร้างของสสารและอะตอมได้ อธิบายธรรมชาติของประจุไฟฟ้าได้ การนำไฟฟ้าไปใช้งาน

3 งานและพลังงาน งาน = แรง x ระยะทาง
งาน หมายถึง แรงที่กระทำต่อวัตถุในระยะทางใด ระยะทางหนึ่ง โดยมีความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้ งาน = แรง x ระยะทาง งาน(W) มีหน่วยเป็น จูล (Joules) แรง(F) มีหน่วยเป็น นิวตัน (Newtons) ระยะทาง(D) มีหน่วยเป็น เมตร (Meters)

4 งานและพลังงาน พลังงาน = แรง x ระยะทาง พลังงาน มีความหมายเดียวกับงาน
พลังงาน มีความหมายเดียวกับงาน พลังงาน = แรง x ระยะทาง พลังงาน(W) มีหน่วยเป็น จูล (Joules) แรง(F) มีหน่วยเป็น นิวตัน (Newtons) ระยะทาง(D) มีหน่วยเป็น เมตร (Meters)

5 ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ ของกระบวนการใด ๆ สามารถ คำนวณได้จากสมการต่อไปนี้

6 ประสิทธิภาพ

7 โครงสร้างของสสาร สสาร เกิดขึ้นได้จากการรวมตัวกันของธาตุต่าง ๆ ที่มี อยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเมื่อนำมาพิจารณาเป็น ส่วนย่อย ๆ จะพบว่าประกอบด้วยอะตอมต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก

8 โครงสร้างของอะตอม อะตอม ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กมากจำนวน 3 ชนิด คือ
อะตอม ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กมากจำนวน ชนิด คือ 1. โปรตอน (Protons) 2. นิวตรอน (Neutrons) 3. อิเล็กตรอน (Electrons)

9 โครงสร้างของอะตอม อะตอมของฮีเลียม อะตอมของอะลูมิเนียม

10 โครงสร้างของอะตอม อนุภาคนิวตรอม มีมวล 1.67492 x 10-27 กก. (กลาง)
อนุภาคโปรตรอน มีมวล x กก. (+, e+) อนุภาคอิเล็กตรอน มีมวล x กก. (-, e-)

11 อิเล็กตรอนเวเลนซ์ (Valence Electron)
อะตอมของอะลูมิเนียม อะตอมของเงิน

12 อิเล็กตรอนอิสระ (Free Electron)

13 ไฟฟ้าสถิต สสารหรือวัตถุใด ๆ สามารถแสดงอำนาจของประจุไฟฟ้าออกมาได้ ถ้าวัตถุนั้นมีอนุภาคอิเล็กตรอนมากกว่าอนุภาคโปรตรอน วัตถุนั้นจะแสดงอำนาจของประจุไฟฟ้าลบ แต่ถ้าวัตถุมีอนุภาคโปรตรอนมากกว่าอนุภาคอิเล็กตรอน วัตถุนั้นจะแสดงอำนาจของประจุไฟฟ้าบวก

14 ไฟฟ้าสถิต

15 ไฟฟ้าสถิต

16 ไฟฟ้าสถิต

17 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน แหล่งกำเนิดพลังงานไฟฟ้า

18 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน

19 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน การส่งกระแสไฟฟ้า

20 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน เสาส่งไฟฟ้าแรงสูง

21 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน

22 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน การจ่ายกระแสไฟฟ้า
ก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้าถึงบ้านผู้ใช้ไฟฟ้า จะต้องมีการลดแรงดัน ไฟฟ้าเสียก่อน โดยผ่านสถานีย่อย สายนี้เรียกว่าสายป้อน และสายที่ต่อจากสายป้อนจะส่งต่อไปด้วยแรงดันไฟฟ้า 12 kV สายส่งระดับนี้จะกระจายไปตามถนนต่าง ๆ และต่อเข้ากับหม้อแปลงเพื่อลดระดับแรงดัน ระบบนี้เรียกว่าระบบจำหน่าย จากนั้น หม้อแปลงไฟฟ้าจะแปลงแรงดันไฟฟ้าจาก 12,000 โวลต์ ลงเป็น 220 โวลต์ สำหรับระบบไฟฟ้าเฟสเดียว และเป็น 380 โวลต์ สำหรับระบบไฟฟ้าสามเฟส แล้วแต่ชนิดของผู้ใช้ไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าแรงสูงมีอันตรายมาก จึงต้องใช้ลูกถ้วย ทำหน้าที่เป็นฉนวนไม่ให้สายไฟฟ้าสัมผัสส่วนของเสา

23 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน ระบบสายบริการ หมายถึงระบบของสายไฟฟ้าที่ต่อจากหม้อแปลงไปยังบ้านพักอาศัย

24 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน - ระบบไฟฟ้าเฟสเดียว 2 สาย - ระบบไฟฟ้าเฟสเดียว 3 สาย

25 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน - ระบบไฟฟ้า 3 เฟสเดียว 3 สาย

26 การนำไฟฟ้าไปใช้งาน - ระบบไฟฟ้า 3 เฟสเดียว 4 สาย


ดาวน์โหลด ppt ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google