สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
10 วิธี ดูแลลูกยุคไซเบอร์
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
การขัดเกลาทางสังคม (socialization)
โรคสมาธิสั้น.
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
ภาพรวมของหน่วยจัดการเรียนรู้
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
จัดทำโดย ด.ญ. สุรางคนา ชัยวิเศษ ม.3/1 เลขที่ 3
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อ วิทยุโทรทัศน์
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
หนังสือเล่มแรก Bookstart
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
เด็กท้อง … จัดการ เชิงบวกได้. ข้อเสนอแนะต่อการจัดการ กรณีเด็กท้องให้เรียนต่อ การระดมความเห็นจากวงน้ำชา ๑๓ - ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๑.
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สื่อสุขภาพจิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
พี่ชายรับสารภาพฆ่าพ่อแม่น้อง
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
การอ่านเชิงวิเคราะห์
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ความหมายของการวิจารณ์
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
Child Study Why…….? 1 ทำให้เราได้ตระหนักถึง ความเป็นปัจเจกภาพของเด็ก แต่ละคนมากขึ้น 2. เปิดโอกาสให้เรามองเห็น ของขวัญที่เด็กนำมาจากโลก จิตวิญญาณ ( เด็กทุกคนนำ.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก พรรณพิมล วิปุลากร

The media’s grim picture of the world Private Eye Jan 2006 UK satirical magazine By its nature the news media has to simplify issues. Conflict and disaster make news. Normality does not. Complexity is reduced to a startling headlines. As a result many young people are alienated by negative messages about the adult world - and their future.

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้สื่อโทรทัศน์ของเด็กและเยาวชน พฤติกรรมการรับชมโทรทัศน์ พื้นฐานภูมิหลัง ของเด็กแต่ละคน วัย ของเด็ก พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

วัยของเด็ก 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี 0 – 3 ปี กิจกรรมที่เหมาะกับการเรียนรู้ของเด็กคือการใช้ประสาทสัมผัสทุกด้าน ค้นคว้าเรียนรู้สิ่งที่อยู่รอบตัว ด้วยการเคลื่อนไหวร่างกาย สัมผัส จัดการเรียนรู้ผ่านความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดจากผู้เลี้ยงดู และกระทำการเรียนรู้ซ้ำๆจนเกิดการบันทึกจดจำ โทรทัศน์ “ดึง” ให้เด็กจ้องมองที่หน้าจอที่มีแสงสว่าง มีการเคลื่อนไหวภาพที่รวดเร็ว เด็กไม่มีโอกาสเรียนรู้แบบโต้ตอบกับสิ่งที่รับเข้ามา และยังมีความเสี่ยงจากแสงสว่างที่วาบขึ้นมาเป็นระยะ รวมทั้งการไม่ได้เคลื่อนไหว 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี 0 – 3 ปี พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

วัยของเด็ก 0 – 3 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี 3 – 5 ปี เด็กเริ่มพัฒนาการเรียนรู้จากการเล่นแบบสมมุติ ชอบการทดลอง การเลียนแบบ มีพัฒนาการด้านภาษา สามารถรับรู้อารมณ์ได้ ระบบคิดจะยังไม่สามารถแยกระหว่างความจริงกับจินตนาการ การรับรู้ผ่านสื่อจะรับรู้ข้อมูลแบบซึมซับว่าเป็นจริง เลียนแบบพฤติกรรมที่เห็น ไม่สามารถตัดสินใจแยกแยะได้ด้วยตนเองถึงอันตรายที่จะตามมา การรับชมภาพที่น่าหวาดกลัวจะสร้างความตื่นตระหนก และมองว่าสิ่งแวดล้อมภายนอกน่ากลัว นอกจากนี้การรับชมมากเกินไปทำให้รบกวนการพัฒนาด้านสมาธิ 0 – 3 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี 3 – 5 ปี พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

วัยของเด็ก 0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 13 – 18 ปี 6 – 12 ปี เด็กจะมีความอยากรู้อยากเห็น มีประสบการณ์ทางสังคมเพิ่มมากขึ้น เป็นวัยที่สร้างการเรียนรู้การมีวินัยและความรับผิดชอบ แยกแยะการใช้เวลาเล่นกับการเรียนรู้ ยังมีลักษณะการเลียนแบบสูง เนื่องจากระบบคิดยังอยู่ในช่วงการพัฒนาความเป็นเหตุเป็นผล การแยกแยะข้อมูลที่ได้รับว่ามีความหมายเช่นไร มีแนวโน้มสูงที่จะทดลองด้วยการเลียนแบบพฤติกรรมโดยไม่เข้าใจความหมายของพฤติกรรมนั้นๆ และยังสร้างค่านิยมต่อพฤติกรรมที่รับรู้ผ่านสื่อว่าเป็นค่านิยมที่ยอมรับทางสังคม 0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 13 – 18 ปี 6 – 12 ปี พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

วัยของเด็ก 0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี เป็นวัยที่มีการพัฒนาระบบคิด การรับรู้แยกแยะวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ มีประสบการณ์ทางสังคมเพิ่มมากขึ้นตามวัย ต้องการการยอมรับและเลือกรับสิ่งที่เป็นตามกระแสหลักได้ง่าย เป็นวัยที่มีการแสวงหาต้นแบบในอุดมคติ นักร้อง นักดนตรี ดารา เป็น Idol ของเด็กวัยรุ่น โดยเฉพาะการนำเสนอที่สร้างภาพลักษณ์ สร้างความรู้สึกร่วม จะมีอิทธิพลมากต่อความคิดและพฤติกรรมของวัยรุ่น นอกจากนี้เด็กจะมีความต้องการเป็นแบบผู้ใหญ่ อยากแสดงพฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่เพื่อแสดงว่าตนเองโตแล้ว 0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

พฤติกรรมการรับชมโทรทัศน์ จำนวนชั่วโมงที่รับชม การรับชมโทรทัศน์มากเกินไป เพิ่มความถี่ในการเห็นภาพที่แสดงความรุนแรง พฤติกรรมทางเพศแบบผู้ใหญ่ การใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอื่นๆ เช่น การดื่มสุรา ใช้ยา อาชญากรรม และโฆษณา ปล่อยให้เด็กดูโทรทัศน์ ดูโทรทัศน์อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ส่งผลต่อกิจวัตรประจำวัน การเรียนรู้ พบว่า เด็กยิ่งชมโทรทัศน์มากยิ่งอ่านหนังสือน้อยลง การได้รับการดูแลจากผู้ใหญ่ การไม่คัดเลือกรายการที่เหมาะสม ปล่อยให้เด็กดูรายการโทรทัศน์แบบผู้ใหญ่ มีผลต่อระบบคิด การตัดสินใจ รูปแบบพฤติกรรมของเด็ก การปล่อยให้อยู่กับสื่อโดยขาดการมีส่วนร่วมและการชี้แนะจากผู้ปกครอง ทำให้เด็กรับข้อมูลและประสบการณ์ที่เกินกว่าจะใช้เหตุใช้ผลตามวัยของตนพิจารณาทำความเข้าใจ และตัดสินใจไม่ได้ว่าข้อมูลที่ได้รับเป็นอย่างไร การรับชมภาพที่ไม่เหมาะสมในเด็กเล็กเกิดความหวาดหวั่น ตกใจกลัว ไม่สบายใจ ในเด็กโตนอกจากความตกใจ เด็กจะเริ่มคุ้นชินกับภาพที่ได้รับ มีความคิดอยากเลียนแบบพฤติกรรม เกิดค่านิยมและสร้างพฤติกรรมของตนเอง พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง เกิดความคุ้นชินกับความก้าวร้าว ขาดความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้ถูกระทำ ใน เด็กเล็ก รู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมเป็นอันตราย ต้องการดูสิ่งที่เพิ่มความรุนแรงเพื่อเพิ่มความสนุก กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว ตอกย้ำว่าความก้าวร้าวเป็นเรื่องปกติในชีวิตประจำวัน พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

พฤติกรรมทางเพศ 3. Sexual violence ไม่รับรู้ผลที่ตามมา ไม่รู้สึกต่อผู้ถูกกระทำ 2. รูปแบบความสัมพันธ์กับคนรัก การให้คุณค่าเรื่องความสัมพันธ์ 1. การเข้าสู่พฤติกรรมทางเพศที่เร็วขึ้นโดยเฉพาะกับเพื่อนวัยเดียวกัน 6. อยาก/สนใจเรื่องเพศเพิ่มมากขึ้น 4. ความเข้าใจผิดเรื่องเพศสัมพันธ์ 5. ตอกย้ำทัศนะความไม่เสมอภาคทางเพศ พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

พื้นฐานภูมิหลังของเด็กแต่ละคน เด็กที่มีแนวโน้มก้าวร้าวรุนแรง เด็กที่ถูกปล่อยปละละเลยทอดทิ้ง รายได้และสถานภาพของครอบครัว ระดับการศึกษาของพ่อและแม่ การเห็นความรุนแรงในสังคม พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

พ่อแม่ควรแนะนำอะไร ดูแล สังเกต เรียนรู้ พูดคุย แนะนำ กิจกรรม ให้ลูกรับชมโทรทัศน์ไม่เกินวันละ 1-2 ชั่วโมง ติดตามว่าลูกรู้สึกอย่างไรจากการเห็นภาพในโทรทัศน์ แลกเปลี่ยนการรับรู้ การให้เหตุผล มุมมองของพ่อแม่ : “จะเป็นอย่างไรถ้าเกิดขึ้นกับเรา คนอื่นจะรู้สึกอย่างไร” เรื่อง rating ของสื่อ ติดตามมีส่วนร่วมในการเลือกรับชมรายการ คุยกับลูกเรื่องทางออกในการแก้ปัญหา ทางเลือกอื่นในการไม่ใช้ความรุนแรง หากิจกรรมร่วมกันในครอบครัว พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552

พ่อแม่ควรแนะนำอะไร แยกแยะ หาประเด็นบวก มุมมอง ต้นแบบ แยกแยะระหว่างจินตนาการ กับความเป็นจริง และการนำเสนอกับความเป็นจริง รวมทั้งการโฆษณา หาประเด็น แง่มุมการเรียนรู้ด้านบวกจากการรับชม มุมมองของผลที่อาจจะตามมา ทุกอย่างอาจไม่จบอย่างที่เห็นจากโทรทัศน์ เป็นตัวอย่างที่ดีในการเลือกรับชมโทรทัศน์ พรรณพิมล หล่อตระกูล, 2552