โครงการบรรยายพิเศษ เรื่อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รองประธานราชวิทยาลัยฯฝ่ายบริหาร นายแพทย์สุกิจ แสงนิพันธ์กูล
Advertisements

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การสัมมนาการจัดการความรู้ในองค์การ(KM) ครั้งที่ 6
กำหนดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
QA patient safety ภาควิชาจักษุวิทยา.
Department of Orthopaedic Surgery
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
มองไม่เห็นก็เรียนได้
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต Master of Science (Mental Health) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
Co-operative education
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
คุณพวงทอง สกุลนุ่ม คลินิกทันตกรรมโรงพยาบาล
คุณพวงทอง สกุลนุ่ม คลินิกทันตกรรมโรงพยาบาล
กิจการนิสิต (Student Affairs)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิธีการทางสุขศึกษา.
โครงการ “ การพัฒนากลุ่ม งานวิจัยในเครือข่าย อุดมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ” ปี 2549 ( วันที่ 12 กรกฎาคม 2549 ) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การประชุมคณะกรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ ครั้งที่ 13/2551
สถานีอนามัยบ้านโนนหอม
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
บทบาท หน้าที่ของบุคคลที่เกี่ยวกข้องกับการสัมมนา
ชุมนุม YC.
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
“เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ” ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต คนสายตาเลือนราง 01/2555
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ง นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
หลักสูตรศิลปะการพูดในการนำเสนอ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
หลักสูตร ศิลปะการพูดในที่ชุมนุมชน บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
หลักสูตร ศิลปะการพูดเพื่อการขาย บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
หลักสูตร ”การพัฒนาบุคลิกภาพสู่ความสำเร็จ”
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
หลักสูตร ศิลปะการพูดในโอกาสพิเศษสำหรับผู้บริหาร
หลักสูตร เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย.
การประชุมครั้งที่ 4/2557 วันพุธที่ 20 สิงหาคม 2557 เวลา น. – น. ณ ห้องประชุม 3-6 มหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิต.
ข่าวเทคโนโลยี สารสนเทศ เรื่อง ก. ไอซีทีบุกเกาหลีดูการใช้ไอทีลด ความเหลือมล้ำการศึกษา ความเหลือมล้ำการศึกษา จัดทำโดย น. ส. ณภัทร สิงหนาท ม.4/12 เลขที่ 24.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
การนำเสนองานด้วย PowerPoint อย่างมีประสิทธิภาพ
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.1 สรุปการประชุมคณะกรรมการ บริหารราชวิทยาลัย ศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ( นำเสนอโดย นายกสมาคมฯ และอุปนายกสมาคมฯ )
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ศูนย์การเรียนรู้ (KM) Knowledge Management. ครั้งที่ 4 วันที่ 22 มีนาคม 2554 เวลา น. – น. ณ. ห้องประชุมปทุมเทวาภิบาล โรงพยาบาลหนองคาย โครงการประชุมวิชาการเพื่อ.
การทัศนศึกษา.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการบรรยายพิเศษ เรื่อง การบริการและสิ่งน่ารู้เกี่ยวกับ คนสายตาเลือนราง ในQuebec ประเทศCanada

วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2555 เวลา 14.00น. – 17.00 น. วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2555 เวลา 14.00น. – 17.00 น. ณ ห้องประชุม แดง กาญจนารัณ ภาควิชาจักษุวิทยา อาคารสยามมินทร์ชั้น14 โรงพยาบาลศิริราช

หลักการและเหตุผล การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็นเป็นกระบวนการสำคัญที่ช่วยให้ผู้ป่วยสายตาเลือนรางสามารถใช้สายตาหรือสัมผัสต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ตามความเหมาะสม ซึ่งรวมทั้งการฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ตลอดจนสังคมให้กลับคืนสู่สภาพที่ใกล้เคียงปกติเช่นเดิมให้มากที่สุด (กิตติกุล ลีละวงศ์, 2547) โดยการจัดบริการฟื้นฟูฯ เพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้ป่วยเกิดพัฒนาทั้งร่างกายและจิตใจด้วยวิธีการต่าง ๆ อาทิ การฝึกใช้การมองเห็นที่เหลือ การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยในการมองเห็น การฝึกสอนทักษะในการเดินทางหรือ O&M การให้คำแนะนำการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยสายตาเลือนราง เป็นต้น และดำเนินการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับบริการการฟื้นฟูทางการศึกษาหรือทางอาชีพต่อไป โดยคำนึงถึงความต้องการของผู้ป่วยว่าต้องการความช่วยเหลือเรื่องใดเป็นหลัก (ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์, 2549)

หลักการและเหตุผล ประสบการณ์ตรงในการให้บริการการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็นจากผู้เชี่ยวชาญจึงเป็นความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการให้บริการฟื้นฟูฯแก่ผู้ป่วย โดยเฉพาะการได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญจากการให้บริการในประเทศอื่น เป็นข้อมูลที่สมควรศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการให้บริการให้ตรงกับความต้องการของผู้ป่วยยิ่งขึ้น ในโอกาสที่ Dr. Daniele Jean ผู้เชี่ยวชาญทางการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็นจากประเทศแคนาดาเดินทางมาพักผ่อนและดูงานเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็นสำหรับคนสายตาเลือนรางในประเทศไทย หน่วยฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็น ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลและสมาคมคนสายตาเลือนรางจึงเชิญท่านมาเพื่อบรรยายพิเศษในหัวข้อดังกล่าว เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็นของคนสายตาเลือนรางต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับฟังการบรรยาย 1. รับรู้ประสบการณ์การทำงานกับคนสายตาเลือนรางจากผู้เชี่ยวชาญเพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็น 2. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การให้บริการฯ ในประเทศแคนาดาและประเทศไทย 3. สร้างเครือข่ายผู้ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับคนพิการทางการเห็นใน ประเทศไทยและประเทศแคนาดาเพื่อการติดต่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่ เป็นประโยชน์ต่อการให้บริการฟื้นฟูฯ ซึ่งกันและกัน

ผู้เข้าฟังการบรรยาย ผู้รับผิดชอบโครงการ จักษุแพทย์ แพทย์ประจำบ้าน นักทัศนมาตร์ บุคลากรหน่วยฟื้นฟูสมรรถภาพทางการเห็น จากโรงพยาบาลศิริราช และโรงพยาบาลอื่น จำนวน 55 คน หน่วยฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็น ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สมาคมคนสายตาเลือนราง

กำหนดการ 13.20 – 13.50 น. ลงทะเบียน 13.50 – 14.00 น. นายธวัชชัย ลลิตสุรเดช นายกสมาคมคนสายตา เลือนรางกล่าวรายงานประธานในพิธีและแนะนำวิทยากร 14.00 –17.00 น. การบรรยายพิเศษเรื่อง “การบริการและสิ่งน่ารู้เกี่ยวกับ คนสายตาเลือนรางใน Quebec ประเทศ Canada โดย Dr. Daniele Jean 17.00 น ประธานกล่าวขอบคุณวิทยากรและปิดการบรรยาย

วิทยากร: Dr. Daniele JEAN, Optometrist Education :Optometry Doctorat, University of Montreal, Canada, (1983) : Low Vision specialization : Learning disability specialization Position : Low Vision invited teacher and clinician : University of Montreal Insitut Nazareth Louis Braille (INLB) Invited teacher, Université Paris-Sud, France, since 1994 Excentric Vision Training Research committe member Professional training for Ophtalmologists, Optometrists, Nurses and Occupational Therapists in the Low Vision field Multidisciplinary Consultation committee member Specializations: - Adult and Elderly patients with Low Vision - Children with Learning Disabilities

วิทยากร: Dr. Daniele JEAN, Optometrist Dr. Daniele JEAN, Optometrist Institut Nazareth et Louis-Braille 1111 St-Charles (Ouest) Longueuil, J4K 5G4 1.450.463.1710 ext. 325 email :danij2005@hotmail.com

Low Vision in Québec, Canada Dr. Danièle Jean, Optometrist © Danièle Jean

Topics 1- Low vision Services in Québec (Canada) 2- Pathologia distribution and classification 3- Psychologic Impact 4- Central field defect 5- Visual acuity and contrast sensitivity 6- Hemianopsia 7- Peripheral field defect 8- Visual aids 9- Clinical Discussion 10- Conclusion

1- Low vision Services in Québec (Canada) Referals :

1- Low vision Services in Québec (Canada) Optometric Services :

1- Low vision Services in Québec (Canada) Optometric Services :

1- Low vision Services in Québec (Canada) Other Services :

1- Low vision Services in Québec (Canada) Other Services :

2 - Pathologia distribution and classification Glaucoma ARMD ARMD Diabetic R.

2 - Pathologia distribution and classification R.P. Myopia

2 - Pathologia distribution and classification ALIBINISM LEBER RETINAL DETACHMENT

2 - Pathologia distribution and classification Corneal Diseases

2 - Pathologia distribution and classification Eleanor Faye’s visual field classification :

3- Psychologic Impact Stage 1: Denial Stage 2: Anger Stage 3: Bargaining Stage 4: Depression Stage 5: Acceptance

Excentric vision training 4- Central field defect Excentric vision training

5 - Visual acuity and contrast sensitivity

6- Hemianopsia

7- Peripheral field defect

8- Visual aids Near :

8- Visual aids Filters, distance and visual field enlargment aids :

9- Clinical Discussion

10 - Conclusion Low vision is a multi and interdisciplinary field where each professional has an important impact on the well being of the patient.

Thank You !

ประธานกล่าวขอบคุณวิทยากรและปิดการบรรยาย

สวัสดีค่ะ