SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
รูปแบบแผนชุมชน.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
จังหวัดภาคใต้ชายแดน 9.1 (ยะลา)
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ขบวนจังหวัดระยอง. แนวคิดและหลักการ ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ชุมชน เข้มแข็ง สร้างคน สร้าง ขบวน ถอด องค์ ความรู้ ปฏิบัติ จริง.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พิจารณาทบทวนปรับ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนกลุ่ม 3
OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประชุมชี้แจงแนวทางการเตรียมการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร

การวางแผนตามศักยภาพของพื้นที่ : A F P Area พื้นที่ Function หน้าที่ Participation มีส่วนร่วม การวางแผนเชิงพื้นที่ (SPATIAL PLANNING)

การวางแผนเชิงพื้นที่ แผนซึ่งสอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อมูล การมีส่วนร่วม การบูรณาการ ปัจจัยสำคัญสำหรับการวางแผน

กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและท้องถิ่น I. ปัจจุบันเป็นอย่างไร???  ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Planning)  การวางแผนแบบบูรณาการ • บูรณาการข้อมูล • บูรณาการหน่วยงาน - แนวนอน (ระหว่างหน่วยงานในระดับเดียวกัน) - แนวตั้ง (ระหว่างหน่วยงานต่างระดับ) • บูรณาการด้านสิ่งแวดล้อมและความอยู่ดีมีสุข - การใช้ประโยชน์ของระบบนิเวศ (Ecosystem Services) - ความอยู่ดีมีสุข (Human Well Being) หรือ ความยากจน (Poverty)

กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและท้องถิ่น I. ปัจจุบันเป็นอย่างไร??? (ต่อ)  การมีส่วนร่วม ??? ระหว่างหน่วยงานในระดับเดียวกัน (แนวนอน) ?? ระหว่างหน่วยงานในต่างระดับ จังหวัด-อำเภอ-อปท. (ตำบล) - ระดับอำเภอสอบถามความต้องการของชุมชน เพื่อจัดทำแผนอำเภอส่งจังหวัด - อปท. ทำแผนโดยการสอบถามความต้องการของชุมชน เพื่อจัดทำแผนของ อปท. - ชุมชนที่เข้มแข็งจัดทำแผนชุมชน เสนอหน่วยงานทั้ง อำเภอ และ อปท.เอง

บนหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน การสนับสนุนทางเลือกการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายสังคมอยู่เย็นเป็นสุข (Poverty-Environment Initiative ; PEI Thailand) มุ่งเน้นให้แผนพัฒนาในทุกระดับมีการบูรณาการเชื่อมโยงประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและการแก้ไขปัญหาความยากจน รวมถึง มีกลไกการนำแผนไปสู่การปฏิบัติโดยมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน บนหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน HUMAN (มนุษย์) ENVIRONMENT (สิ่งแวดล้อม) POVERTY (ความยากจน) ECOSYSTEM (ระบบนิเวศ) SGA Sub Global Assessment (SGA) คือ กระบวนการทางสังคมที่นำข้อมูลของพื้นที่ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของระบบนิเวศมาสู่กระบวนการตัดสินใจหรือการวางแผน (เพื่อบรรลุถึงความอยู่ดีมีสุขของประชาชน)

ข้อเสนอการวางแผนในระดับจังหวัด SGA เศรษฐกิจ: รายได้ต่อหัวของประชากร ภาวะหนี้สิน อาชีพพื้นฐาน ฯลฯ สังคม: ประวัติความเป็นมาของพื้นที่ จำนวนและอัตราการเพิ่มประชากร การนับถือศาสนาสภาพการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินฯลฯ สุขภาพ: อัตราการเกิด อัตราตาย การเจ็บป่วย ฯลฯ การให้บริการระบบนิเวศ อื่นๆ PEI Spatial Planning แผนพัฒนา จังหวัด โครงการ ตัวชี้วัด - ร้อยละคนจนลดลง ร้อยละของครัวเรือนที่มีรายได้สูงกว่ารายจ่ายเพิ่มขึ้น -ร้อยละครัวเรือนที่มีหนี้สินลดลง -ปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตรลดลง -ร้อยละของพื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น -ร้อยละของแหล่งน้ำที่มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้ - ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความมั่นคงและมีความสามารถทางการแข่งขัน Value Chain ข้อมูล: แผนที่ GIS ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม Value Chain การบูรณาการ: หน่วยงานต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน Value Chain ข้อมูลด้านกายภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม การให้น้ำบาดาล ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่ตั้งหมู่บ้าน สถานที่ท่องเที่ยวแหล่งน้ำ เขตชลประทาน อื่นๆ การมีส่วนร่วม: ชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน และความมั่นคง Value Chain ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาการบริหารภาครัฐ Value chain

ข้อเสนอกระบวนการวางแผนเชิงพื้นที่ในพื้นที่นำร่อง องค์การบริหารส่วนตำบลบัวเงิน