SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
การวางแผนตามศักยภาพของพื้นที่ : A F P Area พื้นที่ Function หน้าที่ Participation มีส่วนร่วม การวางแผนเชิงพื้นที่ (SPATIAL PLANNING)
การวางแผนเชิงพื้นที่ แผนซึ่งสอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อมูล การมีส่วนร่วม การบูรณาการ ปัจจัยสำคัญสำหรับการวางแผน
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและท้องถิ่น I. ปัจจุบันเป็นอย่างไร??? ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Planning) การวางแผนแบบบูรณาการ • บูรณาการข้อมูล • บูรณาการหน่วยงาน - แนวนอน (ระหว่างหน่วยงานในระดับเดียวกัน) - แนวตั้ง (ระหว่างหน่วยงานต่างระดับ) • บูรณาการด้านสิ่งแวดล้อมและความอยู่ดีมีสุข - การใช้ประโยชน์ของระบบนิเวศ (Ecosystem Services) - ความอยู่ดีมีสุข (Human Well Being) หรือ ความยากจน (Poverty)
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและท้องถิ่น I. ปัจจุบันเป็นอย่างไร??? (ต่อ) การมีส่วนร่วม ??? ระหว่างหน่วยงานในระดับเดียวกัน (แนวนอน) ?? ระหว่างหน่วยงานในต่างระดับ จังหวัด-อำเภอ-อปท. (ตำบล) - ระดับอำเภอสอบถามความต้องการของชุมชน เพื่อจัดทำแผนอำเภอส่งจังหวัด - อปท. ทำแผนโดยการสอบถามความต้องการของชุมชน เพื่อจัดทำแผนของ อปท. - ชุมชนที่เข้มแข็งจัดทำแผนชุมชน เสนอหน่วยงานทั้ง อำเภอ และ อปท.เอง
บนหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน การสนับสนุนทางเลือกการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายสังคมอยู่เย็นเป็นสุข (Poverty-Environment Initiative ; PEI Thailand) มุ่งเน้นให้แผนพัฒนาในทุกระดับมีการบูรณาการเชื่อมโยงประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและการแก้ไขปัญหาความยากจน รวมถึง มีกลไกการนำแผนไปสู่การปฏิบัติโดยมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน บนหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน HUMAN (มนุษย์) ENVIRONMENT (สิ่งแวดล้อม) POVERTY (ความยากจน) ECOSYSTEM (ระบบนิเวศ) SGA Sub Global Assessment (SGA) คือ กระบวนการทางสังคมที่นำข้อมูลของพื้นที่ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของระบบนิเวศมาสู่กระบวนการตัดสินใจหรือการวางแผน (เพื่อบรรลุถึงความอยู่ดีมีสุขของประชาชน)
ข้อเสนอการวางแผนในระดับจังหวัด SGA เศรษฐกิจ: รายได้ต่อหัวของประชากร ภาวะหนี้สิน อาชีพพื้นฐาน ฯลฯ สังคม: ประวัติความเป็นมาของพื้นที่ จำนวนและอัตราการเพิ่มประชากร การนับถือศาสนาสภาพการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินฯลฯ สุขภาพ: อัตราการเกิด อัตราตาย การเจ็บป่วย ฯลฯ การให้บริการระบบนิเวศ อื่นๆ PEI Spatial Planning แผนพัฒนา จังหวัด โครงการ ตัวชี้วัด - ร้อยละคนจนลดลง ร้อยละของครัวเรือนที่มีรายได้สูงกว่ารายจ่ายเพิ่มขึ้น -ร้อยละครัวเรือนที่มีหนี้สินลดลง -ปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตรลดลง -ร้อยละของพื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น -ร้อยละของแหล่งน้ำที่มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้ - ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความมั่นคงและมีความสามารถทางการแข่งขัน Value Chain ข้อมูล: แผนที่ GIS ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม Value Chain การบูรณาการ: หน่วยงานต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน Value Chain ข้อมูลด้านกายภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม การให้น้ำบาดาล ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำที่ตั้งหมู่บ้าน สถานที่ท่องเที่ยวแหล่งน้ำ เขตชลประทาน อื่นๆ การมีส่วนร่วม: ชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน และความมั่นคง Value Chain ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาการบริหารภาครัฐ Value chain
ข้อเสนอกระบวนการวางแผนเชิงพื้นที่ในพื้นที่นำร่อง องค์การบริหารส่วนตำบลบัวเงิน