ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
Risk Management JVKK.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
องค์ประกอบที่ 5 และ 7.3 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ และผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
25/07/2006.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
1. ปรับ โฉม 2. อัตรากำ ลัง 1. ปรับ โฉม 2. อัตรากำ ลัง.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2556 ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย PCT โรงพยาบาลไชยวาน 6 กรกฎาคม 2554

หน้าที่และเป้าหมาย เป็นทีมนำดูแลผู้ป่วย มีหน้าที่ประสานการดูแลผู้ป่วยในทุกหน่วยงาน และทุกสาขาวิชาชีพ ในการให้บริการดูแลรักษา และสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชนอย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยมีเป้าหมายผู้ป่วยปลอดภัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

5 ลำดับโรคผู้ป่วยนอก Acute nasopharyngitis Acute pharyngitis Dyspepsia DM HT

5 ลำดับโรคผู้ป่วยใน DHF Diarrhea and Gastroenteritis Distubance of temperature regulation of newborn Dengue Fever Septicemia

กลุ่มโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ DHF TB Diarrhea HIV URI

กลุ่มโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ DM HT Asthma Trauma จากอุบัติเหตุ

กลุ่มโรคที่มีความเสี่ยงสูง กลุ่มโรค ACS กลุ่ม Trauma จากอุบัติเหตุ กลุ่มโรคทางแม่และเด็ก เช่น มารดาตกเลือดหลังคลอด Birth Asphyxia

จุดเน้นในการพัฒนาทีมPCT พัฒนาการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคสำคัญ เช่น โรค ACS Trauma เพื่อการเข้าถึงบริการอย่างรวดเร็ว พัฒนาการดูแลกลุ่มโรคเรื้อรัง เช่น โรค DM เพื่อให้ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน พัฒนาการดูแลกลุ่มโรคทางแม่และเด็ก เช่น PPH เพื่อลดอัตราการตกเลือดหลังคลอด

ผลการดำเนินงานกลุ่มโรค ที่มีความเสี่ยงสูง ACS

กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วย ACS เสียชีวิตใน ER เป้าหมาย = 0 จากการเสียชีวิตในปี2552 ทีมสหสาขาวิชาชีพได้ทำRCA และนำผลการทบทวนมาปรับปรุงแนวทางการดูแลผู้ป่วย และเฝ้าระวังอุบัติการณ์ซ้ำ ทำให้ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต และมีการทำ Clinical Tracer ACS ในปี 2554

กราฟแสดงการคัดกรองผู้ป่วยผิดพลาด เป้าหมาย = 0 ผลการวิเคราะห์ พบว่าเกิดจากการคัดกรองด่านหน้าไม่ครอบคลุมจึงได้ปรับเปลี่ยนการคัดกรองโดยใช้แบบคัดกรองอาการแสดงผู้ป่วยACS ในการปฏิบัติงานให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน

ผลการดำเนินงานกลุ่มโรคเรื้อรัง โรคเบาหวาน

กราฟแสดงอัตราควบคุมระดับน้ำตาลได้ (80-130mg%) เป้าหมาย>50% แนวโน้มลดลงจากปัจจัยพฤติกรรมสุขภาพเช่น การรับประทานอาหาร ซึ่งทีมได้นำมาทบทวนโดยการทำ Clinical Tracer DM ในปี2554 อยู่ระหว่างติดตามผล

กราฟแสดงอัตราการกลับมารักษาซ้ำภายใน28วันด้วยอาการ Hypo - Hyperglycemia เป้าหมาย<5% มีแนวโน้มดีขึ้นจากการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยเบาหวาน มีการให้คำแนะนำผู้ป่วยจากสหสาขาวิชาชีพ เช่น เภสัชกร โภชนากร และมีการส่งHHC การออกเยี่ยมบ้าน

ผลการดำเนินงานกลุ่มโรคทางแม่และเด็ก ตกเลือดหลังคลอด

ตารางแสดงอัตราการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดภายใน 24 ชม. เป้าหมาย<5% เดือน/ ปี ต.ค พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เฉลี่ย 2551 4.5 16.6 5.8 3.5 8 3.9 2552 14.2 12.5 10.5 11.7 10 6.2 6.6 18 8.2 2553 2.5 5 5.2 2.9 2554 8.3 4 6.7

อัตราการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดภายใน 24 ชม. เป้าหมาย < 5 % แนวโน้มลดลงจากการพัฒนาสมรรถนะเจ้าหน้าที่ห้องคลอด การประเมินอาการหลังคลอด ปรับแนวทางการดูแลผู้ป่วย

นวัตกรรมด้านการดูแลผู้ป่วย นาฬิกาสอนเบาหวาน การดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน การทำ Active management

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สอดคล้องตามเป้าหมาย

ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554

ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554

ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554

ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554

ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554

สวัสดี