งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
patient care team รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย

2 หน้าที่ เป้าหมาย ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ผลการรักษาในผู้ป่วย
หน้าที่ เป้าหมาย ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ผลการรักษาในผู้ป่วย เป็นไปตามมาตรฐาน 3. บุคลากรมีความรู้และทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ 4. ผู้ป่วยมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองได้ 5. เกิดความเชื่อมโยงในการดูแลสุขภาพในระดับชุมชน จัดทำแนวทางการรักษาและพัฒนาระบบบริการสุขภาพ พัฒนาระบบริการสุขภาพทั้ง 4 มิติ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย

3 จุดเน้นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2557-58 ของโรงพยาบาล
กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย (SIMPLE) I1. Hand Hygiene M1.2: Improve the safety of High-Alert Drug Medication reconciliation P 2.1 Effective Communication – SBAR E1: Response to the Deteriorating Patient/ RRT E3: Acute Coronary Syndrome

4 จุดเน้นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2557-58 ของทีม PCT
จุดเน้นทีม PCT : พัฒนาการดูแลผู้ป่วยตามนโยบายความปลอดภัย( SIMPLE) โดยเน้น P2.1: การสื่อสารการรายงานแพทย์โดยใช้ SBAR E1: การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงกรณีผู้ป่วยอาการทรุดลงโดยใช้การประเมินและเฝ้าระวังผู้ป่วยโดยใช้เกณฑ์ warning signs E3: Acute coronary syndrome (ACS)

5 P2.1: การสื่อสารการรายงานแพทย์โดยใช้ SBAR
Situation: สถานการณ์ที่ทำให้ต้องรายงาน - ระบุตัวผู้รายงาน หน่วยงาน ชื่อผู้ป่วย หมายเลขห้อง - ระบุปัญหาสั้นๆ เวลาที่เกิด ความรุนแรง Background: ข้อมูลภูมิหลังเกี่ยวกับสถานการณ์ - การวินิจฉัยเมื่อแรกรับและวันที่รับไว้ - บัญชีรายการยา สารน้ำที่ได้รับ การแพ้ยา การตรวจทดสอบทางห้องปฏิบัติการ - สัญญาณชีพล่าสุด --ข้อมูลทางคลินิกอื่นๆ - Code status   Assessment: การประเมินสถานการณ์ของพยาบาล Recommendation: ข้อเสนอแนะหรือความต้องการของพยาบาล

6 ตัวอย่างสถานการณ์ SBAR
S: สวัสดีค่ะ จุฑารัตน์รายงาน case จาก ER ค่ะ เป็น case ผป. หญิง อายุ 57 ปี โรคประจำตัว เบาหวาน มาด้วยถามตอบไม่รู้เรื่อง ซึมลง ก่อนมา 30 นาที B: V/S แรกรับ T=36.5, P=90, R=14, BP 100/70 DTX= 30% ให้ 50% glucose 50 ml vein push ไป A: หลังให้ 50% glucose ไปแล้ว 5 นาที ผป. ตื่น รู้ตัวรู้เรื่อง E4V5M6 R: คิดว่าเป็น symtompatic hypoglycemia ต้องได้ admit ตาม CPG เชิญแพทย์มาเยี่ยม case

7 E1: การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงกรณีผู้ป่วยอาการทรุดลง ( Response to the Deteriorating Patient/ RRT ) โดยใช้ Early warning เจ้าหน้าที่ที่ดูแลผู้ป่วย รู้สึกไม่สบายใจเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย PR < 40 or > 130 bpm SBP < 90 mmHg RR < 8 or > 28 bpm O2 Sat < 90% ทั้งที่ให้ O2 ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ปริมาณปัสสาวะ < 50 ml in 4 hr

8 จุดเน้นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2556-57
กลุ่มโรคเรื้อรัง : DM,HT,COPD กลุ่ม Non-Trauma : Acute Coronary Syndrome กลุ่ม Trauma: Head Injury กลุ่มโรคติดต่อ: HIV TB

9 Specific clinical risk
DM /HT : ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันและเรื้อรัง COPD : การควบคุมภาวะ Exacerbation ACS : การได้รับการดูแลถูกต้องและรวดเร็ว HI : การได้รับการดูแลถูกต้องและรวดเร็ว HIV : ผู้ป่วยไม่มีภาวะเชื้อดื้อยา ,ไม่เกิดผู้ป่วยรายใหม่ TB : ผู้ป่วยไม่มีภาวะเชื้อดื้อยา ,ไม่เกิดผู้ป่วยรายใหม่

10 กระบวนการหลักในการดูแลผู้ป่วย
การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผนดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วยและครอบครัว การดูแลต่อเนื่อง

11 1. การเข้าถึง ผู้ป่วย Hypoglycemia สามารถเรียกใช้ระบบ EMS ถ้ามารับบริการเอง สามารถรับบริการที่ห้องอุบัติ-ฉุกเฉิน ได้ทันที 2. การประเมิน ได้รับการประเมินสภาพแรกรับโดยพยาบาลวิชาชีพทันที ได้รับการตรวจ investigation เพื่อค้นหาการวินิจฉัย 3. การวางแผนดูแล มี CPG ในการดูแลผู้ป่วย Hypoglycemia มีการวางแผนจำหน่ายที่สอดคล้องกับปัญหาของผู้ป่วย

12 กระบวนการหลักในการดูแลผู้ป่วย (ต่อ)
4. การดูแลผู้ป่วย ปฏิบัติตาม CPG ในการดูแลผู้ป่วย ค้นหาสาเหตุของการเกิด Hypoglycemia และการแก้ไข 5. การให้ข้อมูลและเสริมพลัง แจ้งผป. และญาติ เกี่ยวกับสาเหตุของการเจ็บป่วยในครั้งนี้ ประเมินและเสริมความรู้ เรื่องอาการและการแก้ไขอาการเบื้องต้นในเรื่องของ Hypoglycemia 6. การดูแลต่อเนื่อง มีเกณฑ์ในการติดตามเยี่ยมบ้าน โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ


ดาวน์โหลด ppt รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google