ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย PCT โรงพยาบาลไชยวาน 6 กรกฎาคม 2554
หน้าที่และเป้าหมาย เป็นทีมนำดูแลผู้ป่วย มีหน้าที่ประสานการดูแลผู้ป่วยในทุกหน่วยงาน และทุกสาขาวิชาชีพ ในการให้บริการดูแลรักษา และสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชนอย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยมีเป้าหมายผู้ป่วยปลอดภัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
5 ลำดับโรคผู้ป่วยนอก Acute nasopharyngitis Acute pharyngitis Dyspepsia DM HT
5 ลำดับโรคผู้ป่วยใน DHF Diarrhea and Gastroenteritis Distubance of temperature regulation of newborn Dengue Fever Septicemia
กลุ่มโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ DHF TB Diarrhea HIV URI
กลุ่มโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ DM HT Asthma Trauma จากอุบัติเหตุ
กลุ่มโรคที่มีความเสี่ยงสูง กลุ่มโรค ACS กลุ่ม Trauma จากอุบัติเหตุ กลุ่มโรคทางแม่และเด็ก เช่น มารดาตกเลือดหลังคลอด Birth Asphyxia
จุดเน้นในการพัฒนาทีมPCT พัฒนาการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคสำคัญ เช่น โรค ACS Trauma เพื่อการเข้าถึงบริการอย่างรวดเร็ว พัฒนาการดูแลกลุ่มโรคเรื้อรัง เช่น โรค DM เพื่อให้ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน พัฒนาการดูแลกลุ่มโรคทางแม่และเด็ก เช่น PPH เพื่อลดอัตราการตกเลือดหลังคลอด
ผลการดำเนินงานกลุ่มโรค ที่มีความเสี่ยงสูง ACS
กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วย ACS เสียชีวิตใน ER เป้าหมาย = 0 จากการเสียชีวิตในปี2552 ทีมสหสาขาวิชาชีพได้ทำRCA และนำผลการทบทวนมาปรับปรุงแนวทางการดูแลผู้ป่วย และเฝ้าระวังอุบัติการณ์ซ้ำ ทำให้ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต และมีการทำ Clinical Tracer ACS ในปี 2554
กราฟแสดงการคัดกรองผู้ป่วยผิดพลาด เป้าหมาย = 0 ผลการวิเคราะห์ พบว่าเกิดจากการคัดกรองด่านหน้าไม่ครอบคลุมจึงได้ปรับเปลี่ยนการคัดกรองโดยใช้แบบคัดกรองอาการแสดงผู้ป่วยACS ในการปฏิบัติงานให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน
ผลการดำเนินงานกลุ่มโรคเรื้อรัง โรคเบาหวาน
กราฟแสดงอัตราควบคุมระดับน้ำตาลได้ (80-130mg%) เป้าหมาย>50% แนวโน้มลดลงจากปัจจัยพฤติกรรมสุขภาพเช่น การรับประทานอาหาร ซึ่งทีมได้นำมาทบทวนโดยการทำ Clinical Tracer DM ในปี2554 อยู่ระหว่างติดตามผล
กราฟแสดงอัตราการกลับมารักษาซ้ำภายใน28วันด้วยอาการ Hypo - Hyperglycemia เป้าหมาย<5% มีแนวโน้มดีขึ้นจากการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยเบาหวาน มีการให้คำแนะนำผู้ป่วยจากสหสาขาวิชาชีพ เช่น เภสัชกร โภชนากร และมีการส่งHHC การออกเยี่ยมบ้าน
ผลการดำเนินงานกลุ่มโรคทางแม่และเด็ก ตกเลือดหลังคลอด
ตารางแสดงอัตราการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดภายใน 24 ชม. เป้าหมาย<5% เดือน/ ปี ต.ค พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เฉลี่ย 2551 4.5 16.6 5.8 3.5 8 3.9 2552 14.2 12.5 10.5 11.7 10 6.2 6.6 18 8.2 2553 2.5 5 5.2 2.9 2554 8.3 4 6.7
อัตราการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดภายใน 24 ชม. เป้าหมาย < 5 % แนวโน้มลดลงจากการพัฒนาสมรรถนะเจ้าหน้าที่ห้องคลอด การประเมินอาการหลังคลอด ปรับแนวทางการดูแลผู้ป่วย
นวัตกรรมด้านการดูแลผู้ป่วย นาฬิกาสอนเบาหวาน การดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน การทำ Active management
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สอดคล้องตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554
ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554
ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554
ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554
ตัวชี้วัดทีมนำคลินิก ปี 2554
สวัสดี