ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Research Problem ปัญหาการวิจัย
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
ฝึกการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
โครงการอาสาสมัคร ดร. ดนัย มิลินทวณิช
แนะนำวิทยากร.
ลดอัตราการออกกลางคัน ของนักศึกษาปริญญาตรี (Drop out)
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
นโยบายด้านงานแพทยศาสตรศึกษา
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
กำหนดงานพัฒนาคุณภาพที่จะสร้างระบบช่วยกันในเครือข่าย
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1 คณะอนุกรรมการดำเนินการสอนที่ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และ สอดแทรกจริยธรรม เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สกอ. ผู้แทนสถาบันในเครือข่ายที่แม่
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 ทำกิจกรรมตามภารกิจของแต่ ละองค์กร.
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
น.พ.บวร งามศิริอุดม สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 15,17
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
ประมวลภาพกิจกรรม โครงการ การจัดการความรู้กรม อนามัย ปี 2548 ประมวลภาพกิจกรรม โครงการ การจัดการความรู้กรม อนามัย ปี 2548.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R การส่งเสริม Knowledge Management ใน กลุ่มบุคลากรที่เข้ารับการอบรมหลักสูตร R to R โดย HRD team ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R

ที่มา พันธกิจข้อแรกของกรมอนามัย(ศูนย์ฯ)คือการผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรม ผลการสำรวจความต้องการการฝึกอบรม ในกลุ่มบุคลากร ร.พ. ต้องการอบรมความรู้เรื่องการวิจัย กพว.ศูนย์ฯพยายามส่งเสริมให้เกิดผลงานวิจัย แต่ไม่ได้ผลเท่าที่ควร งานHRD จัดอบรมความรู้เรื่องวิจัยมาแล้วหลายครั้ง......ผลคืออบรม แล้วไม่เกิดงานวิจัยเพิ่มขึ้น

นักวิชาการของศูนย์ฯขาดความรู้วิจัย..จริงหรือไม่ ? วิเคราะห์ปัญหา นักวิชาการของศูนย์ฯขาดความรู้วิจัย..จริงหรือไม่ ? ทำอย่างไรจึงจะทำให้เกิดกระบวนการปั้นนักวิจัยหน้า ใหม่และปลุกนักวิจัยหน้าเดิมให้สร้างงานวิจัยเพิ่มขึ้น การอบรมให้ความรู้วิจัยแบบเดิมคงไม่เป็นผล สาเหตุน่าจะเป็นเพราะขาดเวลา ขาดที่ปรึกษาด้าน ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติ

กรอบแนวคิด R to R งานประจำ ปัญหา ข้อสงสัย คำถาม การพัฒนา แก้ไข หาคำตอบ From Routine to Research and From Rearch to Development งานประจำ ปัญหา ข้อสงสัย คำถาม การพัฒนา แก้ไข ปรับใหม่ เปลี่ยนแปลง หาคำตอบ ศึกษา วิจัย

ขั้นตอน หาวิทยากรพี่เลี้ยงที่จะดูแลตลอดทั้งกระบวนการที่เหมาะสม ปรึกษาทีมHRD / ปรึกษาประธาน กพว. หาวิทยากรพี่เลี้ยงที่จะดูแลตลอดทั้งกระบวนการที่เหมาะสม ได้ทีมวิทยากรซึ่งเป็นที่ปรึกษาของเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาลเขต ภาคเหนือ : รศ.ดร.ร.อ. นพ.ชยันตร์ธร ปทุมานนท์ : รศ.ชไมพร ทวิชศรี จากสาขาระบาดวิทยาคลินิกและสถิติทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ดำเนินการ ตั้งเป้าหมายการอบรม คือ เกิดผลงานวิจัย และผู้วิจัยได้นำเสนอ ผลงานวิจัยในงานประชุมวิชาการประจำปีของศูนย์ ฯ (แอบตั้งเป้าไว้ ในใจของทีม) บอกดวามตั้งใจและเป้าหมายให้อาจารย์ทราบ รวมทั้งสถานการณ์ งานวิจัยที่ผ่านมา อาจารย์กำหนดหลักสูตรโดยแบ่งออกแป็น 5 ระยะ เป้าหมาย คือการ นำเสนอผลงานวิชาการ

การจัดอบรม หลักสูตร R to R ระยะที่1 กำหนดคำถามวิจัย เขียนเค้าโครงวิจัย สร้าง เครื่องมือวิจัยและฐานข้อมูลวิจัย (จัดอบรม 18-20มี.ค. 52) ระยะที่2 - สถิติวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (จัดอบรม 18-20พ.ค. 52) - ปรึกษาโครงร่างการวิจัยรายกลุ่ม (12มิ.ย.52 /17มิ.ย.52) ลงมือ เก็บข้อมูล (ระหว่างนี้สามารถปรึกษาอาจารย์ผ่านการประสานของ HRD team ได้ที่ภาควิชา) ระยะที่3 วิเคราะห์ข้อมูล ประมวลผล (จัดอบรม 3-4 มี.ค. 53) ระยะที่4 วิธีเขียนรายงานวิจัย/วิธีนำเสนอการวิจัยแบบงานวิชาการ (จัดอบรม 14 มิ.ย. 53)

การจัดอบรม หลักสูตร R to R (ต่อ) ระยะที่5 ซ้อมการนำเสนอผลงานวิจัยเพื่อเตรียมไปนำเสนอผลงานใน เวทีงานประชุมวิชาการเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาลเขตภาคเหนือ 7 -9 ก.ค.53 (จัดอบรม 21 มิ.ย. 53) 8 ก.ค. 53 ทีมวิจัยR to R นำเสนอผลงานวิจัยจำนวน 10 เรื่อง (oral presentation 4เรื่อง poster presentation 6เรื่อง) ยังมีงานวิจัยอีกหลายเรื่องที่อยู่ในระหว่างดำเนินการ

สิ่งที่ได้รับ การประสานกันภายในทีมHRD โดยมีเป้าหมายคือความสำเร็จของ ทีมนักวิจัยR to R ของศูนย์ ตั้งอยู่บนแนวคิดของการช่วยเหลือสนับสนุนโดยไม่มีข้อแม้ ทีมHRD พร้อมเป็นตัวกลางประสานให้ทุกเรื่องที่ได้รับการร้องขอ และทุกเรื่องที่ เห็นว่าต้องทำเพื่อให้เกิดความสำเร็จ ความสำเร็จของทีมนักวิจัยR to R คือความสำเร็จของทีมHRD และคือความสำเร็จขององค์กรของเรา เราคือทีมเดียวกัน

สิ่งที่ได้รับ การช่วยเหลือกันในกลุ่มทีมนักวิจัยR to R แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน บรรยากาศเพี่อนช่วยเพี่อน พี่ช่วยน้อง อาจารย์ช่วยลูกศิษย์ การให้กำลังใจกันในทีม การให้การสนับสนุนโดยท่านผู้อำนวยการศูนย์ ผู้อำนวยการร.พ คณะกรรมการกพว. กลุ่มการพยาบาล และเพื่อนๆทุกคนที่ทำงานแทนที่ ward

ความสำเร็จนี้แม้จะเป็นก้าวแรกและเป็นเพียง ความสำเร็จเล็กๆ แต่มันยิ่งใหญ่และเบ่งบาน อยู่ในหัวใจของพวกเราทุกคน R to R team