ประเด็นการตรวจราชการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
Service Plan สาขา NCD.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพนครชัยบุรินทร์ ประจำปี 2558
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นการตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เป้าหมายยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชน สามารถเข้าถึงบริการได้ โดย นพ.มรุต จิรเศรษฐสิริ

เป้าหมายยุทธศาสตร์ ที่ 2 : การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชน สามารถเข้าถึง บริการได้ ประกอบด้วยประเด็น 1)การเข้าถึงบริการ มี 5 ตัวชี้วัด 2)คุณภาพบริการ มี 12 ตัวชี้วัด 3)คุณภาพการ บำบัดรักษา มี 6 ตัวชี้วัด 4)บริการเฉพาะ มี 2 ตัวชี้วัด 5)กลุ่มระบบบริการ มี 1 ตัวชี้วัด รวมมี 26 ตัวชี้วัด

กรอบการตรวจราชการ ประเด็น Service Plan (10 สาขา) ประเด็นการจัดบริการร่วม ผลบริการเฉพาะตามยุทธศาสตร์ที่ 2(KPI ที่เหลือ) การตรวจรับรองคุณภาพ(Accredit )

1)Service Plan (10สาขา) สอดคล้อง KPI (ข้อ 3,4,5,6,7,10,11,13, 16,17,19,20,21,22,23,26) 2.ประเด็นการจัดบริการร่วม(Service Plan การพัฒนาระบบบริการ 5 สาขาหลัก, KPI ข้อ 2) 3.ผลบริการเฉพาะตามยุทธศาสตร์ที่ 2 (KPI ที่เหลือ) (ข้อ 1,2,8,9,12,14, 15,18,24,25)

ระยะเวลาการตรวจราชการ ตรวจราชการ ปีละ 2 รอบ รอบที่ 1 ตรวจราชการช่วง เดือน ก.พ.-มี.ค. รอบที่ 2 ตรวจราชการช่วง เดือน มิ.ย.-ก.ค. ใช้ระยะเวลาในการตรวจราชการ จำนวน 3 วัน ประกอบด้วย วันที่ 1-2 ทีมตรวจราชการลงพื้นที่ดำเนินการตรวจ ตามราย KPI วันที่ 3 ช่วงเช้า - เวลา 09.00-12.00 น.เตรียมความพร้อม ทีม Regulator ช่วงบ่าย - เวลา 13.00-16.30 น.นำเสนอผลการตรวจ ราชการกับ CEO ระดับเขต และผู้บริหารแต่ละ ระดับของจังหวัด

การตรวจราชการ Service Plan (10 สาขา)

1.ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (10 สาขา) แนวทางการตรวจ 1. วิเคราะห์ข้อมูล ตามเป้าหมายการพัฒนาบริการ แต่ละสาขา (10 สาขาหลัก) 2. ค้นหาปัจจัยเสี่ยง หรือข้อสังเกต ที่ทำให้ ไม่บรรลุผล ตามแนวทางการตรวจ ตามรายละเอียดบางรายการแนบท้าย 3. สอบทานสิ่งที่พื้นที่ ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อบรรลุเป้าหมาย 4. สรุปผลการตรวจติดตาม แจ้งต่อหน่วยรับตรวจ และ CEO

ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan 10 สาขา (รพ. ระดับ A, S, M1, M2) กรมตรวจรับรองคุณภาพครบทุกแห่งภายใน 1 ปี ระดับเขต/จังหวัด -มียุทธศาสตร์ แผนงาน กระบวนการ -ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล (รพช. F1-F3) 1.ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด (สสจ.+รพศ./รพท.) ดำเนินการตรวจสอบรับรอง คุณภาพทุกแห่ง ภายในเวลา 1 ปี 2.สุ่มตรวจสอบโดยกรมเพื่อตรวจสอบรับรอง คุณภาพ รพช. ครบทุกแห่ง ในเวลา 3 ปี ดังนี้ ปีที่ 1 ร้อยละ 30 ปีที่ 2 ร้อยละ 70 ปีที่ 3 ร้อยละ 100 Service Plan 10 สาขา สอดคล้อง KPI การตรวจ Accredit (รพสต.) KPI ข้อ 17 การบริการช่องปากคุณภาพ 1.ระดับจังหวัด(สสจ.+เครือข่าย)ดำเนินการตรวจ รพ.สต. 2.ศูนย์วิชาการ(ศูนย์อนามัย+สำนักทันตฯ กรมอนามัย)สุ่มประเมิน รพ.สต.ทกเขต โดยสุ่มเขตละ 2 จังหวัดๆ ละ 3-5 แห่ง)

ตัวอย่าง ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan

[ตัวอย่าง1] ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (สาขาโรคหัวใจ) ที่ สาขา กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับ ผิดชอบ 1 โรคหัวใจ 1. ลดการป่วยจาก Acute MI โดยระบบ Fast Tract STEMI เพิ่มขึ้นทุกจังหวัด 1.1) มียุทธศาสตร์ แผนงาน กระบวนการดำเนินงาน ให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย (ระดับเขต/จังหวัด) 1.2) การควบคุมกำกับ ติดตาม และประเมินผล (ระดับเขต/จังหวัด) กรมการ แพทย์

[ตัวอย่าง1] ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (สาขาโรคหัวใจ) ต่อ ที่ สาขา กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับ ผิดชอบ 1 โรคหัวใจ สอดคล้องยุทธศาสตร์ที่ 2 การเข้าถึงบริการ ตัวชี้วัดที่ 4ร้อยละผู้ป่วยโรคหัวใจกล้ามเนื้อหัวใจ ขาดเลือดเฉียบพลัน(STEMI)ได้รับยาละลายลิ่มเลือด และ/หรือ การขยายหลอดเลือดหัวใจ(70) 1) การมีระบบช่วยวินิจฉัยอย่างรวดเร็ว เช่น EKG Consultant ในเครือข่าย STEMI 2) จำนวน รพ.ตั้งแต่ F1ขึ้นไปสามารถให้บริการโดยใช้วิธีให้ยาละลายลิ่มเลือดได้จำนวน.......แห่ง(คิดเป็นร้อยละ.....) เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา จำนวน.....แห่ง (คิดเป็นร้อยละ.....) กรมการ แพทย์

[ตัวอย่าง1] ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (สาขาโรคหัวใจ) ต่อ ที่ สาขา กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับ ผิดชอบ 1 โรคหัวใจ 3) มีระบบการส่งต่อและการรับผู้ป่วย เพื่อให้การบริการได้ในเวลาเหมาะสม (Golden Time) ทั้ง ( Thrombolytic Agent ) และ/หรือการขยายหลอดเลือดหัวใจ ( PPCI – Primary Percutaneous Cardiac Intervention) กรมการ แพทย์

ตัวอย่าง ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (กรณี KPI คุณภาพ)

(Intermediate Output) [ตัวอย่าง2] ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (อุบัติเหตุ) ที่ สาขา กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับ ผิดชอบ 3 การพัฒนาระบบบริการอุบัติเหตุ 1.การลดอัตราตายจากอุบัติเหตุ โดยระบบ Fast Tract Trauma เพิ่มขึ้นทุกจังหวัดเฉพาะผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีภาวะวิกฤติและมีระบบส่งต่อ Head Injury และ Multiple Trauma 1.1 มียุทธศาสตร์ แผนงาน กระบวนการดำเนินงานให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย (ระดับเขต/จังหวัด) 1.2 การควบคุมกำกับ ติดตาม และประเมินผล(ระดับเขต/จังหวัด) 1.3 มีการใช้ Referral Mapping กรมการ แพทย์

[ตัวอย่าง2] ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (สาขาอุบัติเหตุ) ต่อ ที่ สาขา กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับ ผิดชอบ 3 การพัฒนาระบบบริการอุบัติเหตุ (ต่อ) สอดคล้องยุทธศาสตร์ที่ 2 คุณภาพบริการ ข้อที่ 13 ร้อยละของ EMS, ER คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) ข้อที่ 13.1 ร้อยละของผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉินวิกฤติ (สีเหลืองและสีแดง) ที่ได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน 10 นาทีที่ได้รับแจ้งเหตุ (EMS) 1) ตรวจสอบ พิจารณา ร้อยละตามเกณฑ์ KPI ตาม รายไตรมาส 2) พิจารณายุทธศาสตร์และกระบวนการดำเนินงาน ให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย สธฉ

[ตัวอย่าง2] ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (สาขาอุบัติเหตุ) ต่อ ที่ สาขา กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับ ผิดชอบ 3 การพัฒนาระบบบริการอุบัติเหตุ (ต่อ) สอดคล้องยุทธศาสตร์ที่ 2 คุณภาพบริการ ข้อที่ 13.2 ร้อยละของ ER คุณภาพ รพ. ระดับ A, S, M1, M2 กรมการแพทย์ ตรวจรับรองคุณภาพครบทุกแห่ง ภายใน 1 ปี 2) รพช. (F1-F3) ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด(สสจ.+รพศ./รพท.) ดำเนินการตรวจสอบ ER คุณภาพทุกแห่ง ภายในเวลา 1 ปี 3) สุ่มตรวจสอบ โดยกรมการแพทย์ ตรวจสอบรับรอง คุณภาพ รพช. ครบทุกแห่ง ในเวลา 3 ปี ดังนี้ ปีที่ 1 ร้อยละ 30 ปีที่ 2 ร้อยละ 70 ปีที่ 3 ร้อยละ 100 กรมการ แพทย์

[ตัวอย่าง2] ประเด็นการตรวจราชการ Service Plan (สาขาอุบัติเหตุ) ต่อ ที่ สาขา กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับ ผิดชอบ 3 การพัฒนาระบบบริการอุบัติเหตุ (ต่อ) 4) มีการประเมินระยะเวลาการรอคอยการดูแลผู้ป่วย ฉุกเฉินน้อยกว่า 5 นาที 5) มีคลินิกนอกเวลารองรับผู้ป่วย กรณีไม่ฉุกเฉิน

ประเด็นการจัดบริการร่วม

การจัดบริการร่วม หมายถึง ..... กลไกความร่วมมือและช่วยเหลือกันในจังหวัด/เขตบริการสุขภาพ ระหว่างสถานบริการสุขภาพทุกระดับ ตั้งแต่ รพศ./รพท./รพช./รพ.สต.ให้สามารถเชื่อมโยงระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ในการจัดบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ผู้รับบริการ

2.ประเด็นการจัดบริการร่วม ตรวจราชการ กรอบการตรวจติดตาม หน่วยรับตรวจ ผลการจัดบริการร่วม 1. การจัดบริการกำลังคนร่วมได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล อย่างเป็นรูปธรรม เช่น การส่งแพทย์/ทันตแพทย์/พยาบาล จาก รพศ./รพท. ออกตรวจใน รพช. และจาก รพช. ออกตรวจใน รพสต. เป็นต้น 2. การจัดบริการ เตียงร่วม หรือ การใช้สถานที่เพื่อบริการร่วม ในโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ เขต/จังหวัด/อำเภอ

2.ประเด็นการจัดบริการร่วม ตรวจราชการ กรอบการตรวจติดตาม หน่วยรับตรวจ ผลการจัดบริการร่วม(ต่อ) 3. การจัดบริการเครื่องมือแพทย์ร่วม เช่น เครื่อง CT Scan , รังสีวินิจฉัย, เครื่องตรวจจอประสาทตา, เครื่องตรวจ วิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ (Lab) โดยอาจใช้วิธีการ การกำหนดศูนย์บริการ ร่วมเครื่องมือแพทย์ การให้ยืม เป็นต้น เขต/จังหวัด/อำเภอ

2.ประเด็นการจัดบริการร่วม ตรวจราชการ กรอบการตรวจติดตาม หน่วยรับตรวจ ผลการจัดบริการร่วม(ต่อ) 4. การเข้าถึงบริการร่วม พิจารณา จังหวัดมีการจัดการเข้าถึงบริการร่วม ระหว่างระบบบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ เพิ่มขึ้นจากปีที่ ผ่านมา จำนวน.......บริการ (คิดเป็นร้อยละ....) (มีเอกสารแสดงรายละเอียดอ้างอิง) เขต/จังหวัด/อำเภอ

ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2

3.ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 แนวทางการตรวจ 1.วิเคราะห์ข้อมูล ตามเป้าหมายการพัฒนาบริการ ที่นอกเหนือจากแต่ละสาขา (10 สาขาหลัก) 2.ค้นหาปัจจัยเสี่ยง หรือข้อสังเกต ที่ทำให้ไม่บรรลุผล ตามแนวทางการตรวจตามรายละเอียดบางรายการ แนบท้าย 3.สอบทานสิ่งที่ที่พื้นที่ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาเพื่อบรรลุเป้าหมาย 4.สรุปผลการตรวจติดตาม แจ้งต่อหน่วยรับตรวจ และ CEO

ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 (รพ. ระดับ A, S, M1, M2) กรมตรวจรับรองคุณภาพครบทุกแห่ง ภายใน 1 ปี การตรวจตามกรอบแนวทางการตรวจราชการ (รพช. F1-F3) 1) ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด (สสจ.+รพศ./รพท.) ดำเนินการตรวจสอบรับรองคุณภาพทุกแห่ง ภายในเวลา 1 ปี 2) สุ่มตรวจสอบโดยกรมเพื่อตรวจสอบรับรอง คุณภาพ รพช. ครบทุกแห่ง ในเวลา 3 ปี ดังนี้ ปีที่ 1 ร้อยละ 30 ปีที่ 2 ร้อยละ 70 ปีที่ 3 ร้อยละ 100 บริการเฉพาะ ตามยุทธฯ 2 การตรวจ Accreditในส่วน KPI คุณภาพ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ -สุ่มประเมิน โดยศูนย์วิชาการ ระดับเขต(ศูนย์อนามัย) ทุก จังหวัด ร้อยละ 5 ของ รพ.สต. (อย่างน้อย 10-20 แห่ง/จังหวัด) KPI นอกเหนือจาก Service Plan 10 สาขา (ข้อ 1,2,8,9,12,14,15,18,24,25)

ตัวอย่าง ประเด็นการตรวจราชการ ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 (กรณี KPI คุณภาพ)

[ตัวอย่าง 1] ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 [ตัวอย่าง 1] ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 3.ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 ตัวชี้วัด ประเด็นการตรวจราชการ กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับผิด ชอบ 8 ร้อยละของ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70) 1. มีการตรวจ WCC คุณภาพ ดังนี้ 1.1 รพ. ระดับ A, S, M1, M2 ศูนย์วิชาการระดับเขต (ศูนย์อนามัย) ตรวจรับรองคุณภาพครบทุกแห่ง ภายใน 1 ปี 1.2 รพช. (F1-F3) ทีมตรวจสอบระดับ จังหวัด (สสจ.+รพศ./รพท.) ดำเนินการ ตรวจสอบ WCC คุณภาพ ทุกแห่ง ภายใน เวลา 1 ปี 2. สุ่มตรวจสอบ โดยศูนย์วิชาการระดับเขต (ศูนย์อนามัย) ตรวจสอบรับรองคุณภาพ รพช. (F1-F3) ครบ ทุกแห่ง ในเวลา 3 ปี ดังนี้ ปีที่ 1 ร้อยละ 30 ปีที่ 2 ร้อยละ 70 ปีที่ 3 ร้อยละ 100 กรมอนามัย

[ตัวอย่าง 2] ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 [ตัวอย่าง 2] ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 3.ผลบริการเฉพาะ ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 ตัวชี้วัด ประเด็นการตรวจราชการ กรอบการตรวจราชการ (Intermediate Output) ผู้รับผิด ชอบ 9 ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70) 1.ระดับจังหวัด (สสจ.+เครือข่ายฯ+อปท.) ดำเนินการตรวจศูนย์เด็กเล็กคุณภาพทุกแห่ง ภายใน1 ปี 2.การสุ่มประเมิน โดยศูนย์วิชาการระดับเขต (ศูนย์อนามัย) ทุกจังหวัด ร้อยละ 5 ของ รพ.สต. (อย่างน้อย 10-20 แห่ง/จังหวัด) กรมอนามัย

การตรวจรับรองคุณภาพ (Accredit)

กรมการแพทย์ กรมอนามัย การตรวจรับรองคุณภาพ ER คุณภาพ รับผิดชอบ KPI(4, 7, 12.1, 13.2, 24, 19, 23) ห้องคลอดคุณภาพ miniMertคุณภาพ ANC คุณภาพ WCC คุณภาพ กรมอนามัย รับผิดชอบ KPI(6, 8, 9) คุณภาพ รพ.สต. ระบบบริการทันตกรรม ศูนย์เด็กเล็ก คุณภาพ

กรมควบคุมโรค สบรส. การตรวจรับรองคุณภาพ NCD Clinic คุณภาพ รับผิดชอบ KPI(11, 12.3, 21, 22) SRRT คุณภาพ สบรส. รับผิดชอบ KPI(2, 3, 15, 16, 18, 20, 21, 22, 26, บริการร่วม) DHS คุณภาพ

กรมวิทย์ฯ กรมสุขภาพจิต การตรวจรับรองคุณภาพ รับผิดชอบKPI(14) ห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขคุณภาพ ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ กรมสุขภาพจิต รับผิดชอบ KPI(5,10,12.2) MCATT คุณภาพ

สธฉ. แพทย์แผนไทยฯ อย.+สบส. การตรวจรับรองคุณภาพ รับผิดชอบ KPI(13.1) แพทย์แผนไทยฯ รับผิดชอบ KPI(1) อย.+สบส. รับผิดชอบ KPI(25) โดยกรมฯ กำหนดเกณฑ์/แนวทางการรับรองคุณภาพ เพื่อแจ้งให้หน่วยบริการที่รับการตรวจสอบทราบ และอาจเริ่มมีการดำเนินการตรวจรับรองคุณภาพ ประมาณเดือน มกราคม 2557

จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ