ฉลากและการโฆษณาเครื่องสำอาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

การดำเนินการควบคุม สินค้าที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหิน
การขออนุญาตนำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การเขียนจดหมาย.
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
สินค้าเครื่องดื่ม เดิม ใหม่
สำนักมาตรฐานและพัฒนาการจัดเก็บภาษี 1
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
พระราชบัญญัติการโฆษณา
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การตรวจสอบและการพิจารณานำเข้ายา
Food and drug administration
แผนผังขั้นตอนการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2556/57
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ.2552.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบแจ้งการเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือการประสบอันตรายจากการทำงาน พ.ศ ลงวันที่ 19 กันยายน 2554.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การตอบข้อหารือเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์/ผลิตภัณฑ์ที่อาจเป็นสารควบคุมตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหน้าที่รับผิดชอบ.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 18 กันยายน 2552
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ว่าด้วยบัตรประจำตัวกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและการต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 สิงหาคม 2554.
ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร (ฉบับที่ 2) ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน 2553.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา เรื่อง การแจ้ง การ ออกใบรับรอง การขอต่ออายุและ การต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการ.
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งการผลิตเพื่อขาย หรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางควบคุม พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน 2553.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าความเข้มกลิ่นของอากาศเสีย ที่ปล่อยทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) ออกตามความในพระราชบัญญัติการพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 ตุลาคม 2539.
สรุปสาระสำคัญ 1. ผู้ที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าซึ่งมีกำลังผลิตรวมตั้งแต่ 200กิโลโวลต์แอมแปร์ขึ้นไป อยู่ในครอบครอง เพื่อทำการผลิตไฟฟ้า จะต้อง ขออนุญาต ทำการผลิตพลังงานควบคุม.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
ระเบียบคณะกรรมการวัตถุอันตรายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎกระทรวง กําหนดให้มีคนงานซึ่งมีความรู้เฉพาะเพื่อปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการใช้ เก็บ ส่ง และบรรจุก๊าซ ประจําโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและ การต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
บทที่ 1 บุคคล.
2.3 ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
LOGO ลักษณะ และการใช้งาน เครื่องชั่งที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันการเอารัดเอา เปรียบ โดย นายสุรชัย สังข์ศรีแก้ว หัวหน้าศูนย์ชั่งตวงวัดภาคเหนือ ( เชียงใหม่ )
1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
การคุ้มครองผู้บริโภค โดยประการอื่น
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
ฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนย์อนามัยที่ 1.
หลักการเลือกซื้ออาหาร
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การคุ้มครองผู้บริโภค โดยประการอื่น
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง สถานที่ยื่นคำขออนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมธุรกิจพลังงานรับผิดชอบ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 8 มิถุนายน.
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
ข้อพิจารณา ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ เกี่ยวกับการแจ้งการดำเนินการ การขออนุญาต และการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมทรัพยากรน้ำบาดาล เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขการออกหนังสือรับรองช่าง เจาะน้ำบาดาล ผู้ควบคุม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฉลากและการโฆษณาเครื่องสำอาง โดย ภญ.คุณภร ตั้งจุฑาชัย กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง สำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 18 ธันวาคม 2552

ฉลากเครื่องสำอาง

พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2535 นิยาม “ฉลาก” รูป รอยประดิษฐ์ หรือข้อความใด ๆ เกี่ยวกับเครื่องสำอางซึ่งแสดงไว้ที่เครื่องสำอาง ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อ หรือสอดแทรก หรือรวมไว้กับเครื่องสำอาง ภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อ และหมายความรวมถึงเอกสารหรือคู่มือสำหรับใช้ประกอบกับเครื่องสำอาง

สาระสำคัญของฉลากภาษาไทย 1. ชื่อเครื่องสำอางและชื่อทางการค้า- ต้องมีขนาดใหญ่กว่าข้อความอื่น 2. ประเภท/ชนิด 3. ชื่อสารทุกชนิดที่ใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง 4. วิธีใช้เครื่องสำอาง 5. ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต/นำเข้า 6. ปริมาณสุทธิ 7. เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต

สาระสำคัญของฉลากภาษาไทย 8. เดือน ปีที่ ผลิต หรือปี เดือน ที่ผลิต 9. เดือน ปีที่หมดอายุ หรือปี เดือนที่หมดอายุ – กรณีเครื่องสำอางที่มีอายุการใช้น้อยกว่า 30 เดือน(ตามบัญชีท้ายประกาศฯ) 10. คำเตือน(ถ้ามี) - ฉลากต้องใช้ข้อความภาษาไทยที่มองเห็นและอ่านได้ชัดเจน อาจมีข้อความอื่นหรือมีภาษาต่างประเทศด้วยก็ได้ ยกเว้น ชื่อของสารที่ใช้เป็นส่วนผสมฯ อาจใช้ภาษาไทย หรือเขียนภาษาไทยทับศัพท์ภาษาอังกฤษ หรือใช้ภาษาอังกฤษอย่างใดอย่างหนึ่งได้

สาระสำคัญของฉลากภาษาไทย เครื่องสำอางมีภาชนะบรรจุขนาดเล็กและมีพื้นที่แสดงฉลากน้อยกว่า 20 ตารางเซนติเมตรอย่างน้อยต้องแสดงข้อความ 1. ชื่อเครื่องสำอางและชื่อทางการค้าของเครื่องสำอาง และ 2. เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต ส่วนข้อความอันจำเป็นอื่นให้แสดงไว้ที่ใบแทรกหรือเอกสาร หรือคู่มือที่ใช้ประกอบเครื่องสำอางนั้นด้วย

บทกำหนดโทษ มาตรา 56 - ผู้ใดโดยเจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผิดใน แหล่งกำเนิด สภาพ คุณภาพ หรือสาระสำคัญประการอื่นอันเกี่ยวกับเครื่องสำอาง….ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ หากผู้กระทำความผิดนั้น กระทำผิดซ้ำอีกภายในหกเดือนนับแต่วันกระทำผิดครั้งก่อน…ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท

บทกำหนดโทษ มาตรา 57- ผู้ใดขายเครื่องสำอางที่มีการควบคุมฉลาก โดยไม่มีฉลาก หรือมีฉลากแต่ฉลากหรือการแสดงฉลากนั้นไม่ถูกต้อง…ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทำโดยประมาท ผู้กระทำต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทำของผู้ผลิตเพื่อขาย หรือผู้นำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางที่มีการควบคุมฉลาก ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

- แนวทางการกล่าวอ้างสรรพคุณ

พิจารณาได้จากองค์ประกอบดังนี้ 1. ส่วนประกอบ(Composition) 2. บริเวณที่ใช้(Target site of application) 3. หน้าที่ตามวัตถุประสงค์หลัก(Intended main function) 4. การนำเสนอ(Product presentation) 5. ผลทางสรีรศาสตร์(Physiological effect) ที่มา: Appendix III - Asean Cosmetic Claim Guideline

การโฆษณาเครื่องสำอาง

ตอบข้อซักถาม