ห้องสมุดดิจิทัล Digital library

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดใน ประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
Advertisements

ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/07/49.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) แผนกฝึกอบรม.
By: Jirawat Promporn By: Jirawat Promporn Contact: TRAINING Dept. BOOK PROMOTION & SERVICE CO., LTD. Update Latest 23/04/51.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
RefWorks โดย... ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บ. บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงล่าสุด 03/12/50.
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
DAONAPA SUYANON LIBRARIAN Learning Resources and Educational Media Center Mae Fah Luang University DAONAPA SUYANON LIBRARIAN Learning Resources and Educational.
การใช้งานฐานข้อมูล Journal of Cosmetic Dermatology
ฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย...ปราณีย์ อนุศาสนนันท์ บรรณารักษ์
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 08/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
Dublin Core Metadata tiac. or
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
Lecture 10 : Database Documentation
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 30/03/50 โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล.
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.
Online Public Access Catalog
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
การใช้งานฐานข้อมูล Springer Link
ปรับปรุงล่าสุด 28/08/53 โดย... ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงล่าสุด 09/08/53.
1 ProQuest Nursing & Allied Health Source โดย ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 04/01/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
User’s guide. Emerald Fulltext เป็นผลิตภัณฑ์ของสำนักพิมพ์ MCB University Pressเป็นผลิตภัณฑ์ของสำนักพิมพ์ MCB University Press ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1996.
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
ABI/INFORM User’s guide 01/08/50.
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด 07/11/50.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล American Chemical Society (ACS) จัดทำโดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ปรับปรุงครั้งล่าสุด 5 มีนาคม 2551.
คู่มือการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ Science Online
แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL) การใช้งานฐานข้อมูล โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/04/54.
การใช้งานฐานข้อมูล Business Sources Complete
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
การสืบค้น ฐานข้อมูล กลุ่มงานบริการสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร Thai Library Integrated System (ThaiLIS)
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 10/09/53 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
Ebsco Discovery Service (EDS)
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 05/01/54 โดย...จิรวัฒน์
ห้องสมุดดิจิทัล Digital library
ProQuest Dissertations & Theses – A&I 1. นาย วัชรพงษ์ แสงศรี สาขาการบัญชี 2. นาย สรยุทธ กัณหา สาขาการบัญชี 3. น. ส. สุดาพรรณ จันทคัต.
ฐานข้อมูล Science Direct
ProQuest Nursing & Allied Health Source
Emerald Fulltext By: Jirawat Promporn By: Jirawat Promporn Contact:
ProQuest Dissertations & Theses – A&I
โดย ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 23/03/50.
JSTOR ฐานข้อมูลวารสารฉบับย้อนหลัง ครอบ คลุมสหสาขาวิชา เช่น สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ ฯลฯ ให้ ข้อมูลบรรณานุกรมและเอกสารฉบับเต็ม.
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การใช้งานฐานข้อมูล Full Text โครงการให้บริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น (E-Journal) สำหรับกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย โดย.
Knovel E-Books Database.
EBook Collection EBSCOhost.
หน้าจอการสืบค้น (OPAC)
Wiley Online Library. Wiley Online Library Wiley Online Library เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ รวบรวมวารสารมากกว่า 800 รายชื่อ ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้าน.
IngentaConnect.
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
Introduction EndNote เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้นและถ่ายโอน (Import) ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้องสมุดดิจิทัล Digital library

http://youtu.be/E9xvzvKMbys

A digital library is an integrated set of services for capturing, cataloging, storing, searching, protecting, and retrieving information, which provide coherent organization and convenient access to typically large amounts of digital information. ห้องสมุดดิจิทัลเป็นการรวมของบริการจัดหา จัดหมู่ จัดเก็บ ค้นหา ป้องกัน และสืบค้นสารสนเทศซึ่งสามารถเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัลจำนวนมากได้

Digital libraries are realizations of architecture in a specific hardware, networking, and software situation, which emphasize organization, acquisition, preservation, and utilization of information. สถาปัตยกรรมของห้องสมุดดิจิทัลเป็นฮาร์ดแวร์ เครือข่าย ซอฟท์แวร์เฉพาะซึ่งเน้นการจัดการ การจัดหา การสงวนรักษา และบำรุงรักษาสารสนเทศ

องค์ประกอบของ DL system

User interfaces ส่วนติดต่อผู้ใช้ 2 user interfaces in two parts: end-users digital librarians and system administrators who manage the collections Web browser เป็นตัวเชื่อมต่อกับ client services ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมกับระบบและช่วยผู้ใช้ในการตัดสินใจว่าจะสืบค้นอะไร

Repository จัดเก็บและจัดการ digital objects และสารสนเทศอื่นๆ ห้องสมุดดิจิทัลขนาดใหญ่สามารถมีหลาย repositories และหลายประเภท

Handle system เป็นตัวระบุ digital objects ใน repository หรือฐานข้อมูล

Search system ระบบห้องสมุดอัตโนมัติออกแบบมาเพื่อให้สามารถมี indexes and catalogs จำนวนมากซึ่งสามารถพบได้ก่อนการสืบค้นจากrepository. แต่ละ indexes ได้รับการจัดการแยกจากกันและสนับสนุนหลายๆ protocols

How do digital libraries work? Collections of digital objects are stored in file systems and databases คอลเลคชั่นของวัตถุดิจิทัลถูกเก็บในฐานข้อมูล Services are provided using several kinds of technologies บริการโดยใช้เทคโนโลยีหลายประเภท Information Retrieval: indexing, search, classification การสืบค้นสารสนเทศ ดรรชนี การค้น การจัดหมวดหมู่ Metadata: annotation บรรณานิทัศน์, description คำอธิบาย User Interface ส่วนติดต่อผู้ใช้ : GUI toolkits, web-based interfaces, viewer applications, user feedback

ผู้ใช้จะหา digital objects เจอได้โดย 1. browsing Objects ถูกเชื่อมเข้าด้วยกันโดยใช้โครงสร้าง เช่น hyperlinks, directories ผู้ใช้ใช้ interface เพื่อค้นจากข้อมูลทั้งหมด e.g.,

ผู้ใช้จะหา digital objects เจอได้โดย 2. search ผู้ใช้คิดคำค้น (query) ตามความต้องการสารสนเทศ DL ค้นหาสารสนเทศที่ตรงกับคำค้น

การค้นทำงานอย่างไร? การตรวจสอบทุก object ใน collection เป็นการเสียเวลา ดังนั้น index จึงถูกสร้างขึ้นและถูกใช้ในการค้น

ดรรชนีทำงานอย่างไรกับ digital objects? ขึ้นอยู่กับประเภทของ objects ที่กำลังถูกค้นbeing searched Text ข้อความ Inverted files ไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้น Numericตัวเลข Databases Multimedia Content-based techniques เทคนิคค้นจากเนื้อหา Other อื่นๆ(e.g., scientific) Domain-specific techniques เทคนิคการค้นโดยจำเพาะเจาะจงสาขาวิชา

ทุกๆ สิ่งจะได้รับ index หรือไม่? ไม่เสมอไป แต่ metadata is indexed Metadata อธิบาย data this isn’t indexed this is data Metadata is a kind of data. This reduces indexing this photo to an already-solved text retrieval problem. this is indexed these are metadata “Zoey the dog” October 2000

ดังนั้น metadata is จำเป็นมาก! ใช่ การพัฒนา metadata ที่มีคุณภาพสูงเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของการสร้าง DL We need high- quality metadata!

recognizable by what it can do Digital Object is... getSection getArticle getTrack getLabel getChapter getPage getFrame getLength recognizable by what it can do

ลักษณะของห้องสมุดดิจิทัล DL ไม่ได้เป็นหน่วยเดี่ยวๆ DL ต้องการเทคโนโลยีเพื่อเชื่อมกับแหล่งบริการที่ผู้ใช้ไม่สามารถมองเห็น(end users) เป้าหมายของห้องสมุดดิจิทัลคือ การเข้าถึง DL และบริการสารสนเทศอย่างกว้างขวาง collections ของ DL ไม่ได้จำกัดแค่สารสนเทศดิจิทัลที่ทำขึ้นจากสิ่งตีพิมพ์แต่ยังรวมถึงสารสนเทศดิจิทัลอื่นที่ไม่ได้มาจากสิ่งพิมพ์อีกด้วย

Digital Library Interoperability การทำงานร่วมกันของห้องสมุดดิจิทัล

Digital Library Interoperability Cornell Digital Library Nordic Digital Library

Digital Library Interoperability Interoperability is based on standards: Such as protocol, metadata Protocols Z39.50 - search and discovery protocol OAI - Metadata Harvesting Protocol Metadata MARC - comprehensive, intend to be used by professional catalogers Dublin Core - for describing electronic material, especially for non specialist user

Metadata (เมทาดาทา) คืออะไร? ข้อมูลอธิบายเกี่ยวกับข้อมูล (data about data) การสร้างเอกสารหรือข้อมูลดิจิทัล จำเป็นต้องกำหนดโครงสร้าง จึงจะสืบค้นโดยระบุข้อมูลตามต้องการ มิใช่เพียงเปิดอินเทอร์เน็ตแล้วไล่เรียงอ่านเรื่อยไป การสร้างข้อมูลแบบมีโครงสร้าง คือ การกำหนดตัวกำกับไว้ก่อนหน้าเนื้อหา เพื่อระบุว่าเนื้อหา คือ ชื่อเรื่องหรือชื่อคน ชื่อบริษัทหรือ หน่วยงาน บทคัดย่อหรือเรื่องเต็ม ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ รูปภาพหรือเพลง ยกตัวอย่าง บทความวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็น pdf โดยตัวเอกสารเองสืบค้นได้ไม่ดีแบบเอกสาร html หรือ text file จำเป็นต้องสร้างเมทาดาทาเป็น text สำหรับการสืบค้น และจึงเรียกดูฉบับเต็ม

Metadata (เมทาดาทา) คืออะไร? ข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล สำหรับชุมชนห้องสมุด หมายถึง การลงรายการหรือการพรรณนาทรัพยากรในรูปของบัตรรายการ หรือฐานข้อมูลบรรณานุกรม ในสภาวะแวดล้อมที่เป็นเว็บนั้น เมทาดาทาจะหมายถึงข้อมูลที่ช่วยในการจัดระเบียบ พรรณนา แสดงลักษณะ ชี้ตำแหน่ง และค้นคืนทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ หรือที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์ในอินเทอร์เน็ต (Thornely, 1998) Metadata is linked to data

Dublin Core Metadata (ดับลินคอร์เมทาดาทา) เกิดจากความจำเป็นในการสืบค้นข้อมูลในเว็บให้เข้าเรื่อง และไม่เสียเวลาอ่านข้อมูลจำนวนมากเกินไป อย่างที่คนส่วนใหญ่พบว่าเป็นปัญหา การใช้ภาษาตัวกำกับ เช่น XML ช่วยให้แลกเปลี่ยน ส่งข้อมูลได้ดี แต่ดับลินคอร์สามารถระบุความหมายของข้อมูลด้วยคำจำกัดความมาตรฐานให้ชัดเจน และถูกต้องมากยิ่งขึ้น จุดมุ่งหมายของดับลินคอร์เมทาดา คือ การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานอย่างง่าย ๆ เพื่อให้เจ้าของผลงานสามารถเข้าใจและระบุเมทาดาทาได้เอง ดังนั้น ดับลินคอร์เมทาดาทาพื้นฐานจึงมีเพียง 15 หน่วยข้อมูลย่อย และไม่เคร่งครัดว่าต้องใช้มาตรฐานเฉพาะในการจัดทำรายการจำเป็น วิธีนี้ช่วยให้หน่วยงานเล็ก ๆ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการอบรมความรู้เพิ่มเติม และไม่ต้องลงทุนซื้อคู่มือจัดทำรายการ ประการสำคัญดับลินคอร์เมทาดาทา เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ได้จบทางวิชาชีพหรือมีความรู้ทางบรรณารักษศาสตร์หรือสารสนเทศศาสตร์ก็สามารถที่จะลงเมทาดาทาของงานได้ด้วยตนเอง

ดับลินคอร์เมทาดาทา

ตัวอย่างการลงรายการเมทาดาทาหนังสือ

DOI Metadata เป็นสารสนเทศที่มีโครงสร้างที่ใช้อธิบายลักษณะ และระบุตำแหน่งของสารสนเทศ ทำให้ง่ายในการค้นหา การใช้และการจัดการสารสนเทศที่อยู่ในรูปดิจิทัล ประกอบด้วย 15 elements Dublin Core Metadata : DOI เป็นชื่อรหัสมาตรฐานของทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิทัล ที่กำหนดขึ้นเป็นมาตรฐานของการระบุชื่อของทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัลที่ให้บริการผ่านอินเทอร์เน็ต (a digital identifier for any object of intellectual property) เป็นการระบุตำแหน่งหรือที่อยู่ของสารสนเทศที่ให้บริการผ่านอินเทอร์เน็ต

DOI องค์ประกอบสำคัญ 2 ส่วนคือ ส่วนต้น (Prefix) และ ส่วนท้าย (Suffix) doi:10.1000/ISBN1-900512-44-0 doi:10.2345/S1384107697000225 doi:10.4567/0361-9230(1997)42 doi:10.6789/JoesPaper56

DOI รหัสDOI จึงเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถค้นหาและสืบค้นออนไลน์ได้จากการใช้รหัส DOI เช่น การค้นหาใน search engine ใช้คำค้นว่า doi:10.1336/0313272107

บริการชื่อของ digital object (Naming Service) ชื่อเฉพาะบ่งบอกที่อยู่ของ digital objects Documents identified by globally unique names ชื่อจะถาวร ไม่เปลี่ยนแปลง การลงทะเบียนช่วยในการแก้ปัญหาที่อยู่ specific location (URL) cnri.dlib/april97-payette Persistent Identifier (e.g., URN) Naming Authority Item Name Location (URL) http://www.somewebserver.org/somedirectory/somefile

ตัวบ่งชี้Identifiers: Current Initiatives IETF Uniform Resource Names (URN) specification of URN framework requirements for resolution systems syntax definition Existing Systems CNRI’s Handle System (**NCSTRL uses) OCLC PURLs DOI Initiative

Z39.50 protocol มาตรฐานสำหรับการสืบค้นระหว่าง เค่รือง client และ database server Z39.50 Facility Client-side description Initialization Establish connection with server and set/request resource limits. Search Initiate search using registered query syntax, generating a result set server-side. Retrieval Retrieve a set of records from a specified result set: a large record may be segmented and transmitted piecemeal. Result-set-delete Request deletion of server-side result set or sets. Access Control Server initiated authentication check. Accounting & Resource Control Request status reports of committed server resources and dictate if server is allowed to contact client when agreed limits are reached. sort Specify how a result set should be sort. Browse Access ordered lists such as title and subject metadata Explain Interrogate server to discover support services, registries, and so on Extended Services Access services that continue beyond the life of this client-server exchange, such as persistent queries and database update. Termination Abruptly end client-server session: initiated by either client or server

The Open Archives Initiative (OAI) สนับสนุนการโต้ตอบระหว่าง data provider และ service provider Data Provider: ผู้ที่บำรุงรักษา repositories (web servers) ที่ใช้ OAI เป็นเครื่องมือในการทำ metadata. Service Provider: เกี่ยวกับการติดต่อระหว่าง OAI กับ data providers และใช้ metadata เป็นพื้นฐานในการเพิ่มมูลค่าให้กับการบริการ Service Provider เป็นการรวบรวม metadata ที่เกิดจาก Data Providers

OAI structure model

MARC MARC records are stored as a collection of tag fields in fairly complex Fields Values Personal name: Arnosky, Jim. Main Title: Raccoons and ripe corn Edition statement: 1st ed. Place/ Name/ Date of publication: New York; Lothrop, Lee & Shepard Books; c1987. Pagination/ Illustrative/ Size: 25 p; col. ill; 26 cm. Summary: Hungry raccoons feast at night in a field of ripe corn. Topical subject: Raccoons. Local call number: 599.74 ARN Local barcode number: 8009 Local price: $15.00

MARC fields in catalog record Tags Values 100 $a Arnosky, Jim. 245 Raccoons and ripe corn 250 1st ed. 260 New York; $b Lothrop, Lee & Shepard Books; $c c1987. 300 25 p; col. ill; 26 cm. 520 Hungry raccoons feast at night in a field of ripe corn. 650 Raccoons. 900 599.74 ARN 901 8009 903 $15.00

สถาปัตยกรรมห้องสมุดดิจิทัล DL architecture สถาปัตยกรรมห้องสมุดดิจิทัล

ความสามารถของห้องสมุดดิจิทัล Capability of Digital library การจัดหาและผลิตสารสนเทศดิจิทัล (capture or creation of content) การจัดทำดรรชนีและการจัดหมู่ (indexing and cataloging) (metadata) การจัดเก็บ (storage) วิธีการค้น และคำค้น (search and query) การจัดการลิขสิทธิ์ (asset and property rights protection) การสืบค้นและการบริการสารสนเทศดิจิทัล (retrieval and distribution) A digital library architecture shows how capabilities are realized and related, and does this at several levels. Digital library architectures show how business processes or functions are enhanced; they show how technology components fit together and how, in detail, components interoperate with each other.

ความสำคัญของโครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัล (DL architecture) เพื่อให้ห้องสมุดดิจิทัลมีความสามารถในทำงานได้ดังกล่าว ต้องมีการออกแบบโครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัล (DL architecture) เพื่อดูว่าองค์ประกอบทางเทคโนโลยีสามารถทำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี ทำงานด้านต่างๆ ทำงานได้มีประสิทธิภาพ โครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัลประกอบด้วยหลายระดับเพื่อให้สามารถห้องสมุดดิจิทัลมีความสามารถดังกล่าว

Digital library architecture Notional Architecture Operational Architecture Technical Architecture System Architecture

โครงสร้างทางความคิด Notional Architecture Data และ metadata แยกออกจากกันอย่างชัดเจน Metadata ช่วยการจัดหมวดหมู่และจัดการความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ไม่ได้รับการจัดการ ซับซ้อน และมีขนาดใหญ่

โครงสร้างการปฏิบัติงาน Operational Architecture ระบบจัดการสารสนเทศ (information management system)

โครงสร้างทางเทคนิค Technical Architecture องค์ประกอบของระบบต่างๆ Metadata และ data ต้องมีความสัมพันธ์กันอย่างมีเหตุผล เทคโนโลยีที่นำมาใช้ต้องมีความสามารถเชื่อมต่อได้โดยไม่ต้องคำนึงถึงเวลา, platforms, ภูมิศาสตร์, เครือข่าย, และระบบการบริการสารสนเทศดิจิทัล

โครงสร้างทางระบบ System Architecture ระบบของ H/W และ S/W scalability and extensibility

ตัวอย่างโครงสร้างของห้องสมุดดิจิทัล

GSDL Digital Library

System Architecture Digital format

ระบบย่อย Functionality ระบบการค้น (Search system) มี page สำหรับสืบค้น ส่วนทำงานของบรรณารักษ์ (Librarian Interface) เป็นโปรแกรมประยุกต์สำหรับ collection management Collection system Metadata system ระบบ (Configuration system) สำหรับการตั้งค่า parameter สำหรับระบบการค้นและการแสดงผล

Hierarchical Functions of GSDL System (1) Digital Library System Search System Collection System

Hierarchical Functions of Search System Browsing By full text By title By creator By Keywords By description Searching By subject By media

1. Search System ค้นหาจากเนื้อหาเอกสาร (full text search) การค้นหาคำในเอกสาร ค้นหาจากเนื้อหาเอกสาร (full text search) ค้นหาจากคำอธิบายเอกสาร (metadata field search) การแสดงรายชื่อเอกสาร (browsing document)

Text search ค้นหาเอกสารโดยการพิมพ์ข้อความลงในกล่องข้อความ เลือกประเภทของการค้นหาจาก Drop down list ดังนี้ ข้อความ (text) ค้นหาจากเนื้อหาของเอกสาร ค้นหาจากฟิลด์ของ Dublin core ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง คำสำคัญ คำอธิบายเอกสาร

Text search result คำที่ต้องการค้นหา จำนวนเอกสารที่พบ รายละเอียดเบื้องต้นของเอกสาร ดูเนื้อหา / ดาวน์โหลดเอกสาร

2. Browsing - ชื่อเรื่อง แสดงรายชื่อเอกสารทั้งหมด เรียงตามฟิลด์ Title ภายใต้ Dublin core metadata เลือก เพื่อดูรายละเอียดของเอกสารในรูปแบบของ html กด icon ของรูปแบบเอกสารเพื่อ เปิด/ดาวน์โหลด เอกสารต้นฉบับ

Browsing - หัวข้อ นำเสนอรายชื่อเอกสารจากกลุ่มหัวข้อ (subject) ในรูปของลำดับชั้น หัวข้อถูกกำหนดโดยฟิลด์ Subject and keywords ของ Dublin core metadata

Browsing - สื่อ นำเสนอรายชื่อเอกสาร โดยจำแนกเอกสารตามประเภทของสื่อเอกสาร เช่น กลุ่มหนังสือคู่มือ หนังสือ วิชาการ เป็นต้น การแบ่งกลุ่มเอกสาร กำหนดโดยฟิลด์ Type ของ Dublin core metadata

Document browse result ผลลัพธ์ของการขอดูข้อมูล จะนำเสนอในรูปแบบ ดังนี้ รายละเอียดเอกสาร ดาวน์โหลดเอกสาร ตัวอย่างเอกสาร (แสดงในรูปแบบของ html)

III. Collection System (Librarian Interface) ระบบนำเข้าเอกสาร (Gathering) ระบบคำอธิบายข้อมูล (Metadata) ระบบกำหนดค่า (Setting)

Hierarchical Functions of Collection System Delete Import Collection System Collection New Edit View Gathering Select Select Files Metadata Build Save Close Export Metadata Sets Setting General Plug-ins Searching program

Collection System Collection management คิดค้น Creating a collection สร้าง Building a collection นำเข้าไฟล์Import files รวบรวม Metadata gathering จัดการ Metadata management ตั้งค่าCollection configuration

Librarian Interface Main menu File สร้าง/ลบ file ของ collection แก้ไข/ขอดู รายละเอียดของ collection ที่มีอยู่ Export/Write image สร้าง collection ใหม่จากของเดิม เพื่อใช้ ภายนอก Preferences กำหนดค่า configuration ให้กับ collection Save/Close บันทึกและเลิกใช้โปรแกรม Librarian Interface Main menu Work space - File listing - Parameter setting Collection area List of imported files Setting values

Librarian functions (1) Download ใช้สำหรับนำข้อมูลจาก web มาใช้ใน collection Gather ใช้สำหรับสร้าง (menu Create) collection ของห้องสมุด

Librarian functions (2) Enrich: แก้ไข metadata ของเอกสารนั้นๆ การกำหนด metadata set จะอยู่ใน menu ชื่อ Design

Librarian functions (3) Design: หน้าหลักในการกำหนดวิธีแสดงผล General: แก้ไขคำอธิบายเอกสารของ collection Plug-ins: กำหนดโปรแกรม plug-ins เพื่อนำเข้าเอกสารประเภทต่างๆ Searching: กำหนดรูปแบบของการค้นหาข้อมูลและรูปแบบของการนำเสนอ Search Type: ประเภทของการค้นหา ค้นหาแบบปกติ หรือแบบพิเศษ Search Index: กำหนดประเภทของการทำดัชนี ที่จะใช้ในการค้นหา Cross-Collection: ค้นหาข้าม collection Browsing Classifier: กำหนดตัวแปรในการ browse เอกสาร ต้องระบุ metadata ที่ต้องการ Format Feathers: กำหนดรูปแบบหน้าจอของการค้นหา และรูปแบบการเสนอ ผลลัพธ์ Metadata Sets: กำหนด metadata ที่จะใช้ในระบบ

องค์ประกอบของ DL Architecture Repository Persistent (and unique) identifiers (URNs) Data Metadata Digital Objects Access and Delivery (Digital library services) Collection management Rights management for intellectual property

TYPES OF DL SOFTWARE Proprietary 1. ห้ามแจกจ่าย 2. ซื้อ Open Source The Open Source Definition is referred by the Open Source Initiative (OSI) to determine whether or not a software license can be considered open source.

Open Source Software 1. แจกจ่ายได้ 2. มี source code. 3. modification 4. author’s source code อนุรักษ์ไว้ 5. ไม่มีข้อจำกัดว่าใครจะใช้ 6. ไม่มีข้อกำหนดในวัตถุประสงค์ของการใช้ 7. ลิขสิทธิท์เป็นของผู้ใช้ 8. ทุกส่วนของผลิตภัณฑ์ที่จด license จะได้รับการคุ้มครอง

DL open source software Greenstone Fedora D-space Eprint 71 71

Modern Features in Digital Library Architectures

Social networking sites Social networking, bookmarking and tagging Reviews Recommendation features Citation and reference linking Bibliometric tools

Users interact with resources and create tags Tag 1 Tag2 Tag 3 Tag 1 75

Social Tagging Environment Photo sharing Slide sharing Videoblogging and sharing Social networks Academic bookmarking Bookmarking

77 77

78 78

79 79

80 80

81 81

Citation linking 82 82

Get it! Citation linker 83 83

84 84

จงอธิบายคำต่อไปนี้ URNs intellectual property Digital Library Interoperability Protocols Z39.50 OAI (Open Archives Initiative) Metadata MARC Dublin Core Persistent (and unique) identifiers Repository XML OSS (Open Source Software) Digital library software Greenstone Fedora D-space Eprint Social computing