การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
Advertisements

การจัดระบบเอกสารในการประกันคุณภาพ
การแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่จบหลักสูตร งานวัดผล โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
สังกัดสำนักงาน กรุงเทพมหานคร. วัตถุประสงค์ชิ่อกิจกรรมวิธีการผลลัพธ์ 1. เพื่อส่งเสริมการมีส่วน ร่วมระหว่างครูผู้ปกครอง 2. เพือสร้างความผิดชอบ ให้กับนักเรียนในการทำ.
การตัดเกรด โดย อาจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส
การนำเสนอผลการฝึกปฏิบัติงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการขอรับรอง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
งานกิจการนิสิต
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
1 กำหนดการกำหนดการ – น. ลงทะเบียน – 15.oo น. แลกเปลี่ยน... เรียนรู้ กลุ่มย่อย – น. นำเสนอ และสรุปผล KM_FORUM ครั้งที่ 3.
การฝึกปฏิบัติงานนอก สถานที่ สำหรับ นักศึกษากิจกรรมบำบัดชั้น ปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552.
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ข้อบังคับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ ภาควิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 23 เมษายน 2556

วัตถุประสงค์ จัดหาประสบการณ์การเรียนรู้ตาม Requirement ของรายวิชาภาคปฏิบัติให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่รายวิชากำหนด

ผลลัพธ์ นักศึกษาทุกคนได้รับประสบการณ์ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด

แนวปฏิบัติที่ดี ประชุมคณะผู้สอนรายวิชาเพื่อทำความเข้าใจในเรื่องประสบการณ์การเรียนรู้ของรายวิชา พิจารณาปัญหา/อุปสรรคในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ผ่านมา คณะผู้พิจารณาแนวทางในการจัดประสบการณ์ของรายวิชาให้นักศึกษาได้รับครบถ้วน โดยผู้สอนจะพิจารณาแหล่งฝึกที่ต้องจัดหาประสบการณ์แต่ละอย่าง และตกลงร่วมกัน เช่น รายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 จะมีประสบการณ์การเรียนรู้ทั้งด้าน อายุรกรรมและศัลยกรรม การพยาบาลเฉพาะอย่าง

แนวปฏิบัติที่ดี(ต่อ) คณะผู้สอนด้านอายุรกรรมและศัลยกรรมจะแบ่งกิจกรรมที่ต้องรับผิดชอบ โดยต้องจัดหาประสบการณ์ให้นักศึกษาได้ครบถ้วน ก่อนย้ายแหล่งฝึกจากศัลยกรรมเป็นอายุรกรรม 1 สัปดาห์ก่อนเปลี่ยนแหล่งฝึกจากศัลยกรรมเป็นอายุรกรรม จะให้นักศึกษาตรวจสอบประสบการณ์ว่าได้ประสบการณ์ครบถ้วนหรือไม่ในแหล่งฝึกด้านศัลยกรรม/อายุรกรรม

แนวปฏิบัติที่ดี(ต่อ) เมื่อนักศึกษาฝึกปฏิบัติถึงสัปดาห์ที่ 7 ประธานวิชาจะแจ้งให้อาจารย์ประจำแหล่งฝึกตรวจสอบประสบการณ์อีกครั้งว่านักศึกษาได้รับประสบการณ์ครบถ้วนตามที่รายวิชากำหนดหรือไม่ เพื่อจะได้จัดหาประสบการณ์ให้นักศึกษาให้ครบถ้วนในสัปดาห์ที่ 8 ในสัปดาห์สุดท้ายของการฝึกปฏิบัติ อาจารย์ประจำแหล่งฝึกจะตรวจสอบประสบการณ์ว่านักศึกษาได้รับครบถ้วนตามที่รายวิชากำหนดหรือไม่โดยดูจากการลงนามของอาจารย์ในสมุดบันทึกประสบการณ์การเรียนรู้ ในกรณีที่ไม่มีผู้ป่วยที่ทำกรณีศึกษาผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุตามที่ระบุไว้ตามแหล่งฝึก จะจัดสลับ case study หรือให้นักศึกษาคนอื่นสลับทำ case study แทน โดยอาจารย์ประจำแหล่งฝึกจะประสานงานกับอาจารย์ในแหล่งฝึกต่อไปในกรณีที่มีการสลับ case

แนวปฏิบัติที่ดี(ต่อ) ภาควิชาจะจัดทำแบบตรวจสอบประสบการณ์การเรียนรู้ของรายวิชาเพื่อให้นักศึกษาลงบันทึกในแต่ละสัปดาห์ กำหนดให้นักศึกษาส่งแบบตรวจสอบประสบการณ์ให้อาจารย์ประจำแหล่งฝึกก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติ 1 วันเพื่อให้อาจารย์ทราบว่านักศึกษาได้รับประสบการณ์ใดแล้วบ้าง อาจารย์ประจำแหล่งฝึกจะลงนามในสมุดบันทึกประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาในทุกสัปดาห์ของการฝึกปฏิบัติ อาจารย์ประจำแหล่งฝึกทำบันทึกข้อความถึงประธานวิชา สรุปประสบการณ์การเรียนรู้ที่นักศึกษาได้รับเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกปฏิบัติงานในสัปดาห์ที่ 8 และ 16

แนวปฏิบัติที่ดี(ต่อ) ในกลุ่มนักศึกษาที่มีแนวโน้มผลการประเมินการปฏิบัติการพยาบาลอยู่ในเกณฑ์ต่ำ หรือคะแนนการปฏิบัติน้อยกว่า 45 คะแนน รวมทั้งนักศึกษาที่มีการปฏิบัติงานผิดพลาด รายวิชาฯ ถือเป็นกลุ่มเสี่ยง จะมีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพิ่มเติมให้เหมาะสมเป็นรายบุคคล ซึ่งอาจารย์ประจำแหล่งฝึกจะทำบันทึกข้อความรายงานพฤติกรรม การจัดประสบการณ์เสริม และ ผลการติดตาม ถึงประธานวิชา (หัวหน้าภาควิชา) มีรายงานในการประชุมรายวิชาฯ

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ภาควิชามีความมุ่งมั่นในการจัดหาประสบการณ์การเรียนรู้ให้นักศึกษา มีการวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีการติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีการแจ้งเตือนคณะผู้สอนเป็นระยะในการจัดหาประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ตามที่รายวิชากำหนด อาจารย์ติดตามการบันทึกประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาในสมุดบันทึกอย่างเคร่งครัด

ปัญหาอุปสรรคที่พบและวิธีแก้ไข นักศึกษาได้รับประสบการณ์แต่ไม่ได้นำสมุดบันทึกประสบการณ์มาให้อาจารย์ประจำแหล่งฝึกลงนาม หรือลงนามไม่ครบถ้วนหรือ บันทึกไม่ถูกต้อง ได้แก้ไขโดยติดตามให้นักศึกษานำสมุดมาแก้ไขให้ถูกต้องและครบถ้วน ก่อนการสอบ OSCA