การดำเนินงานธุรกิจบริการสุขภาพและปัญหาอุปสรรคของธุรกิจเครื่องสำอาง นิพนธ์ เผ่านิ่มมงคล อุปนายกสมาคมผู้ผลิตเครื่องสำอางไทย
การดำเนินงานตามกรอบ ASEAN Harmonization Agreement on ASEAN Harmonization การร่างกฎหมายเครื่องสำอางอาเซียน Pre Harmonization การเตรียมเข้าสู่ Harmonization (3 ปี) Implemention การเริ่มใช้กฏหมาย Asean Cosmetic Harmonization
Agreement on ASEAN Harmonization ขั้นตอนการร่างกฎหมายเครื่องสำอางอาเซียน คณะทำงานร่างกฎหมายที่ไปประชุมในต่างประเทศ เจ้าหน้าที่จากภาครัฐ เจ้าหน้าที่จากภาคเอกชนและสมาคม คณะทำงานร่างกฎหมายที่ไม่ได้ร่วมประชุมในต่างประเทศ ฝ่ายกฎหมาย ฝ่ายวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ
Agreement on ASEAN Harmonization ปัญหาและอุปสรรค กฎหมายเครื่องสำอางไทยบางข้อมีความแตกต่างจาก Asean เนื่องจากคณะทำงานบางท่านไม่ได้เข้าประชุมในต่างประเทศจึงไม่ เข้าใจข้อตกลงอย่างถี่ถ้วน การแก้กฎหมายทำด้วยความยากลำบากเนื่องจากต้องเสนอผ่าน รัฐสภา จึงมีความจำเป็นที่ต้องแก้เหตุการณ์เฉพาะหน้าโดยการใช้ กฎหมายใกล้เคียงนำมาประยุกต์
Pre Harmonization ระยะเวลาการดำเนินการเตรียมเข้าสู่ ASEAN Harmonization 3 ปี (2008-2010) การจดแจ้ง (Notification) ที่ One stop Service ทำได้น้อยรายการแต่เจ้าหน้าที่ให้ความ ช่วยเหลือได้มาก ทาง Electronic ทำได้รวดเร็วในกรณีที่เอกสารถูกต้องสมบูรณ์ แต่ถ้า ติดขัดไม่ถูกต้องในบางขั้นตอนต้องกลับมาเริ่มใหม่ทำให้เกิดความล่าช้า เจ้าหน้าที่ควรตรวจข้อผิดพลาดทั้งหมดแล้วทำการแจ้งให้ทราบในครั้งเดียว หัวข้อใหม่ของกฎหมายเครื่องสำอางอาเซียนที่ผู้ประกอบการ SME ยังไม่ เข้าใจและมีปัญหาในการปฏิบัติ (PIF,GMP,PRODUCT SAFETY and EFFICACY)
Implementation การเริ่มใช้กฎหมาย ASEAN Cosmetic Directive ใน วันที่ 1 มกราคม 2554 ควรยืดระยะเวลาออกไปอีก 1-2 ปี
สรุปปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ การร่างกฎหมายบางข้อบางประเด็นควรปรับให้สอดคล้องกับกฎหมาย เครื่องสำอางอาเซียน เช่น สินค้าในกลุ่ม Whitening มีปัญหาในเรื่องการ จดแจ้ง , การ Claim , การเขียนฉลาก ทำให้สินค้าไทยเกิดความเสียเปรียบ เพื่อนบ้านในตลาดอาเซียน การจดแจ้งเป็นไปด้วยความช้าเนื่องจากมีรายการที่ต้องจดแจ้งมาก ไม่สามารถทำ ได้ทันเวลา ถึงแม้เจ้าหน้าที่ให้ความช่วยเหลือและทำงานอย่างเต็มที่แล้ว ควร ยืดเวลาผ่อนผันไปอีก 1-2 ปี
สรุปปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 3. ควรปรับปรุง Program การยื่นจดแจ้งทาง Electronic ให้สะดวก รวดเร็วขึ้น และควรจดแจ้งนอกเวลาราชการได้ ขณะนี้งดจดแจ้งจนถึง 15 กันยายน ข้อกำหนดการใช้สารต่างๆ ควรยึดถือตามภาคผนวก (Annex) ใน Asean Cosmetic Directive เป็นหลัก เช่น การใช้สาร DEA PIF , GMP , Product safety and efficacy ยังคงต้อง เป็นปัญหาสำหรับ SME ควรมีการอบรมสัมนาให้ความรู้มากขึ้นและควรยืด ระยะเวลาผ่อนผันไปอีก 1-2 ปี
สรุปปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 6. ชื่อสินค้าที่มีคำว่า Gold, Diamond , Silver ไม่ควรบังคับให้มีการ เขียนระบุ “ไม่มีส่วนผสมของทอง,เพชร,เงิน” ในทุกตัวสินค้า 7. ควรมีการ Update ข้อมูล Ingredients ใหม่ๆ ในสินค้า Whitening หรือ Antiaging ตามข้อปรับปรุงในภาคผนวกของ ACD 8. ควรสนับสนุนให้ใช้สมุนไพรไทยโดยอ้างอิงผลวิจัยจากมหาวิทยาลัยที่เป็นที่ยอมรับ
Thank you