ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(District Health System)
Advertisements

ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
สวัสดีครับ.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่ 11.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) กลุ่มที่ 1

1.กระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต.รอบที่ 1 ปัญหา 1. การตรวจบูรณาการ (กระทรวงฯ / สำนักนายกรัฐมนตรี) 5-6 ครั้งต่อปี 2. ส่วนกลางไม่มีการชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับแบบประเมิน รพ.สต. ให้ทุกจังหวัดทราบเป็นแนวทางเดียวกัน

ประเด็นและปัญหาที่พบจากการนิเทศติดตาม รอบที่ 1 1. การขาดแคลนบุคลากร 2. ขาดการสนับสนุนจากจังหวัดไปแม่ข่าย และ การสนับสนุนจากแม่ข่ายเอง 3.ขาดการบูรณาการงาน ของแต่ละฝ่าย 4. ขาดการเชื่อมโยงในแต่ละระดับ โดย เฉพาะจังหวัดกับ คปสอ. (จังหวัดไม่ได้ให้การสนับสนุนเท่าที่ควร / ไม่มี การทำความเข้าใจให้ตรงกันทั้งการประเมินการใช้จ่าย งบประมาณ

ประเด็นและปัญหาที่พบจากการนิเทศติดตาม รอบที่ 1 5. มีคณะกรรมการ บริหาร รพ.สต.ที่เข้มแข็ง โดยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะมาประชุมทำความเข้าใจและตกลงกัน ก่อนลงมือปฏิบัติ 6. ปัญหาเรื่องการพิจารณาคัดเลือก รพ.สต. พบว่า บางอำเภอไม่มี รพ.สต. 7. ปัญหาความเร่งด่วนของนโยบาย และความไม่ชัดเจนของระบบรายงาน

ประเด็นและปัญหาที่พบจากการนิเทศติดตาม รอบที่ 1 8. การเพิ่มประเด็นการนิเทศ รพ.สต. มากกว่า 22 ข้อ และมีการพัฒนารูปแบบการประเมินเป็น สุนทรียนิเทศโดยใช้การพูดคุยเป็นเครื่องมือในการประเมิน 9. การขาดความชัดเจนในดำเนินงาน SRM 10. จังหวัดต้องการให้มีการบูรณาการเกณฑ์จากทุกภาคส่วน ให้เป็นเรื่องเดียวกัน (สปสช. / กระทรวงสาธารณสุข / อื่น ๆ )

ข้อเสนอแนะ ส่วนกลางควรที่จะพัฒนาองค์ความรู้ ผู้นิเทศงานระดับเขต /จังหวัด (SRM,แนวทางการพัฒนา รพ.สต.) นโยบาย รพ.สต.ควรชัดเจน ทุกกรม/กอง ควรจะมีการบูรณาการกันเกี่ยวกับเรื่อง SRM ให้ชัดเจน

ประเด็นที่ 2 การจัดการงบประมาณให้รพ. สต ประเด็นที่ 2 การจัดการงบประมาณให้รพ.สต. ที่เป็นธรรม โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ รูปแบบการจัดการงบประมาณแตกต่างกันไปแล้วแต่จังหวัด เช่น จังหวัดหนองคาย มี Project Manager (สสอ.)ทำหน้าที่บริหารจัดการงบประมาณ ร่วมกับ ผอ.รพ. /จังหวัดมหาสารคามอยากให้มีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนจากส่วนกลาง ข้อเสนอแนะ จังหวัดต้องบริหารจัดการภายในจังหวัด ต้องมีคณะกรรมการที่ดูแลอย่างเหมาะสม ควรมีการทำความเข้าใจผู้บริหาร ระดับเขต จังหวัด ให้เข้าใจในเรื่องการสนับสนุนงบประมาณด้วย

ประเด็นที่ 2 การจัดการงบประมาณให้รพ. สต ประเด็นที่ 2 การจัดการงบประมาณให้รพ.สต. ที่เป็นธรรม โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1. คณะกรรมการดำเนินงานควรมาจากทุกภาคส่วนมีคำสั่งแต่งตั้งที่ชัดเจน /มีองค์ความรู้ในการบริหารจัดการ 2. มีภาคีเครือข่าย ร่วมบริหารจัดการ (รพช. / สสอ. /อปท./กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ /หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน ) 3. สนับสนุนให้ประชาชนแสดงบทบาทในการเฝ้าระวังโรคในชุมชน/สิ่งแวดล้อมที่ดี/มีมาตรการทางสังคม 4. ควรมีการประชุมชี้แจงระหว่าง ผู้ตรวจราชการฯ และจังหวัดให้เข้าใจตรงกัน

ประเด็นที่ 3 การควบคุมป้องกันโรคและการจัดการสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะ ควรจะมีการวางแผน แก้ไขปัญหาร่วมกันทุกภาคีเครือข่าย ใช้ SRM เป็นเครื่องมือสู่แผนชุมชน เพื่อทำให้ประชาชนมีระบบเฝ้าระวังโรคที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี โดยใช้มาตรการทางสังคมเข้ามาช่วย จะทำให้ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม