นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
ระบบข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
สหกรณ์ วาระแห่งชาติ ข้อเสนอปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสหกรณ์ คณะอนุกรรมการด้านปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสหกรณ์
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ความหมายและกระบวนการ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
“ลดความเหลื่อมล้ำ ๓ กองทุน”
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
M&E M&E by..nuntana Claim Claim.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริหารและพัฒนากำลังคน
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
นโยบายกรมการแพทย์ ในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการและการบริการตติยภูมิและศูนย์รับส่งต่อภูมิภาค โดย นายแพทย์เรวัต วิศรุตเวช อธิบดีกรมการแพทย์
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 10 ข้อ
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ระดับ นโยบาย ประเด็น รัฐบาล รัฐมนตรี สธ. ปลัดกระทร วง ข้อที่ 1 “ พัฒนาคุณภาพและ สุขภาพคนไทยในทุกช่วง วัย ” ข้อที่ 2 มีหลักปฏิบัติที่เท่า เทียมกันต่อประชาชนคน ไทยทุกคน นายกรัฐมน ตรี นโยบาย ข้อ 1.14 พัฒนา ระบบประกันสุขภาพ “ สร้างความเป็นเอกภาพ ลด ความเหลื่อมล้ำ 3 กองทุน ” นโยบายข้อที่ ๒ คือ เพิ่ม คุณภาพระบบหลักประกัน สุขภาพ ขับเคลื่อนดำเนินการ ประสานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง จัดตั้งศูนย์ประสานงาน เจ็บป่วยฉุกเฉิน ดำเนินงาน ติดตาม ประเมินผล บริการเจ็บป่วย ฉุกเฉิน ข้อสั่งการ ประกาศนโยบาย 28 มีค 2555 ” การสร้างความเสมอภาคทั้ง 3 กองทุน ไม่ได้ รวม 3 กองทุน ให้ประชาชน ได้รับบริการที่มีคุณภาพ อย่าง ทันท่วงที และมีการดูแลบริการที่จำเป็นอย่างทั่วถึง ภายใต้หลักการพื้นฐานเดียวกัน ไม่เหลื่อมล้ำ และไม่แตกต่างกัน “ หน่วยบริการทุกแห่งในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข ให้บริการผู้ป่วยทุกสิทธิตามระบบ ปกติ ขอความร่วมมือ หน่วยบริการในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขเป็นสถานพยาบาลรับส่ง ต่อผู้ป่วยจากสถานบริการภาคเอกชน หลังจาก ให้บริการผู้ป่วยจนทุเลา กำหนดแนวทางปฏิบัติ ๑)ให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉินทันที ๒)ไม่ตรวจสอบสิทธิก่อนรักษา ๓)ผู้ป่วยไม่ต้องสำรองจ่าย

UC SS CS ผู้ป่วย ฉุกเฉิน จ่าย (ต่างกัน) ไม่สะดวก “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ในระบบหลักประกัน 3 กองทุน” รพ.นอก หลักประ กัน รพ. สธ. 1 รพ. คู่สัญญา หลัก <<< ความเหลื่อมล้ำ

UC SS CS ผู้ป่วย ฉุกเฉิน การเบิกจ่าย อาการป่วย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” รพ. นอก สธ. รพ. สธ. รพ.ต้น สังกัด สธ. รพ.1 รพ <<< ลดความเหลื่อมล้ำ ผู้ป่วยเข้ารับบริการทุกที่ สถานบริการได้รับ การชดเชยบริการ

UC SS CS ผู้ป่วย ฉุกเฉิน การเบิกจ่าย อาการป่วย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” รพ. นอก สธ. รพ. สธ. รพ.ต้น สังกัด สธ. รพ.1 รพ ไม่มีปัญหา ตั้งแต่ 1 เมษายน 2555 ไม่มีปัญหา ยังมีปัญหา

ผลการดำเนินบริการ (ข้อมูล วันที่ 1เมย.-31พค. 2555) ผู้ใช้บริการ 3 กองทุนทั้งหมด 2,019 ราย 100% แบ่งเป็นในเขตกรุงเทพและปริมณฑล 1,202 ราย 59% ในภูมิภาค 817 ราย 41% แบ่งประเภทผู้ป่วยเป็น ผู้ป่วยนอก 571 ราย 28% ผู้ป่วยใน 1,448 ราย 72% แบ่งประเภทสิทธิของผู้ป่วย แยกเป็น สิทธิบัตรประกันสุขภาพ 1,423 ราย 70% ข้าราชการ 348 ราย 17% ประกันสังคม 234 ราย 12% และสิทธิอื่นๆ 14 ราย 1% การรียกเก็บ บันทึกข้อมูลเบิกในระบบ2,004 ราย 99% ยังไม่บันทึก 15 ราย 1%

ผลการดำเนินบริการ (ข้อมูล วันที่ 1เมย.-31พค. 2555) ผู้ใช้บริการ 3 กองทุนทั้งหมด 2,019 ราย 100% อาการ/โรคที่รับบริการ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด319 ราย16% โรคระบบทางเดินหายใจ204 ราย10% โรคสมอง ระบบประสาท165 ราย 8% การบาดเจ็บรุนแรง575 ราย 28% อาการฉุกเฉินรุนแรงอื่นๆ756 ราย 38% ประเภทนำส่ง/มาเอง / ญาติมาส่ง1,646 ราย 82% รถกู้ชีพ EMS ราย 9% อื่นๆ 184 ราย 9%

บทสรุป 1. การบริการในสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขไม่มีปัญหาอุปสรรค 2. การบริการในสถานพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ไม่มีปัญหาอุปสรรค 3. การบริการในสถานพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนกรุงเทพมหานคร ปัญหาที่ได้ดำเนินการแก้ไข ด้านประชาสัมพันธ์อาการเจ็บป่วยฉุกเฉิน รุนแรง เป็นอันตรายถึงชีวิต ที่ต้องนำผู้ป่วยเข้าโรงพยาบาล โดยเฉพาะโรงพยาบาลใกล้ ที่เกิดเหตุ ที่ตรงตามวัตถุประสงค์ 4. ปัญหาที่ต้องพัฒนา 4.1 ระบบส่งต่อจากโรงพยาบาลแรกที่ให้บริการและอยู่ระบบ 3กองทุนไปยัง โรงพยาบาลต้นสังกัด ผู้ป่วยสิทธิประกันสังคม ใช้ระบบส่งต่อเดิม ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพและสิทธิข้าราชการ ใช้ส่งต่อ กระทรวงสาธารณสุขจัดระบบส่งต่อรับจากกรุงเทพมหานครไปยังรพ.ปริมณฑล 4.3 การชดเชยบริการ ผู้ป่วยรับบริการรพ.เครือข่ายสังกัด3กองทุน ใช้เงื่อนไขเดิม ผู้ป่วยรับบริการรพ.นอกสังกัด3กองทุน เมื่ออาการดีขึ้น ให้ย้ายไปยังรพ.ต้นสังกัด แต่หากพ้น24ชั่วโมง ไปแล้วไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ให้ 3 กองทุนพิจารณาชดเชย การบริการในอัตราต้นทุน หรือ อัตราบริการที่ลด209% 4.4 พัฒนาระบบส่งต่อ จัดระบบ SupraContractor Pooling System จัดหารพ.ในกรุงเทพมหานครรองรับที่กำหนดชดเชยบริการที่เหมาะสม

แนวทางดำเนินการ 1. ดำเนินการตามนโยบายต่อไป 2. ติดตาม กำกับ การบริการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 3. พัฒนาห้องฉุกเฉินให้มีสมรรถนะ พร้อมบริการ 4.จัดระบบส่งต่อ-รับผู้ป่วย รวมทั้งจัดตั้งศูนย์รับ-ส่งต่อผู้ป่วย 5. สำรองเตียงผู้ป่วยหนัก ผู้ป่วยกึ่งหนัก 6. พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน 7.ประชาสัมพันธ์การใช้บริการตามนโยบาย 8. รายงานการใช้บริการ ปัญหา-แนวทางพัฒนา และการชดเชยบริการ