การติดตามประเมินผล ปี 2552
คณะทำงานติดตามประเมินผลระดับเขต ประธาน: สาธารณสุขนิเทศก์เขต คณะทำงาน: - ผอ.สปสข. - ผอ. ศอ.และนักวิชาการ - ผอ. สคร. และนักวิชาการ - ผอ.ศส. และนักวิชาการ - ผู้แทนกรมการแพทย์ - หัวหน้างานตรวจราชการเขต/หัวหน้าสข.
วัตถุประสงค์ ประเมินกระบวนการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ (จังหวัด,อำเภอ,ตำบล) ประเมินความเหมาะสมในการแก้ไขปัญหา ประเมินผลการแก้ไขปัญหา จัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
หลักการประเมิน ยึดปัญหาในพื้นที่เป็นหลัก ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ เน้นกระบวนการแก้ปัญหาเชิงรุก แบบบูรณาการ(แผน/ คน/ เงิน) สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์กระทรวง
ขั้นตอนการประเมิน กำหนดประเด็นปัญหาสุขภาพที่จะประเมิน - เป็นประเด็นร่วมของจังหวัดในเขตอย่างน้อย 2 ประเด็น - มีข้อมูลแสดงขนาด ความถี่ ความรุนแรงของปัญหา กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ ปัจจัยเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยง - สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์กระทรวง ♦ วัณโรค ♦ อนามัยแม่และเด็ก ♦ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ♦ อาหารปลอดภัย ♦ ระบบส่งต่อผู้ป่วย ♦ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ขั้นตอนการประเมิน (ต่อ) ศึกษา วิเคราะห์คุณภาพแผนการแก้ไขปัญหา(แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ) - เป็นแผนเชิงรุก - บูรณาการกิจกรรม - บูรณาการงบประมาณจากทุกแหล่ง (non UC, P&P,กองทุนสุขภาพตำบล, อปท., ฯลฯ)
ขั้นตอนการประเมิน (ต่อ) ประเมินกระบวนการปฏิบัติจริงของจังหวัด อำเภอ และตำบล วิเคราะห์และสรุปผลกระบวนการดำเนินการรายจังหวัด จัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคระดับเขต นำเสนอในเวทีการประชุมเดือนสิงหาคม
การเสริมทักษะผู้ประเมินระดับเขต จัดทำคู่มือการติดตามประเมินผลกระบวนการดำเนินงานส่งเริมสุขภาพและป้องกันโรค อบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะของ ผู้ประเมินระดับเขต เวทีนำเสนอผลการประเมินระดับเขตเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และกำหนดแนวทางการพัฒนาปีต่อไป
การนิเทศ ติดตามและรายงานผล บูรณาการ composite indicatorsในแผนการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติของกระทรวงสาธารณสุข แหล่งข้อมูลที่ใช้ สธ. สปสช. e – inspection, 18 แฟ้ม, 0110 รง 5, Pap registry PPIS, e – claim, วัคซีนไข้หวัดใหญ่
คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง