โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CoPsป้องกันและดูแลแผลกดทับ
Advertisements

esearch and Development
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การศึกษาดูงานในประเทศ และต่างประเทศ
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
และอนามัยสิ่งแวดล้อม
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
กลุ่ม 4 รพช.( ไม่มีแพทย์ ดำเนินการ ) นำเสนอโดย นางสมรัก ชักชวน รพ. ตรอน จ. อุตรดิตถ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลสวนปรุง ปีงบประมาณ 2557
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
PCT ทีมนำทางคลินิก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ แนวคิดการดูแลผู้สูงอายุโดยอาศัย หลักฐานเชิงประจักษ์ โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ

คุณภาพของการดูแลผู้สูงอายุ การศึกษาและมีระบบที่ดี การปรับปรุงคุณภาพเริ่มต้นจากการประเมินเจตคติ Geriatric Institutional Assessment Profile (GIAP) เจตคติของบุคลากร ความรู้ การรับรู้เกี่ยวกับปัญหาหลักๆ (John A Hartford Foundation, 2003)

Nursing care, has become the center point in the health care of Elderly patient (Bludau, 2006)

Geriatric principle : Rule of Thirds Normal aging Disease Disuse

การประสบความสำเร็จในการดูแลผู้สูงอายุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning organization) มีบรรยากาศของการตั้งคำถามและต้องการใช้หลักฐานที่ ทันสมัย (ใหม่) ส่งเสริมการคิดแก้ไขปัญหา เปิดโอกาสให้คิด เรียนรู้ ร่วมกัน วัฒนธรรมของการแสวงหาความรู้ ซึ่งเป็นคุณสมบัติของ การปฏิบัติวิชาชีพ

การพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัย หลักฐานเชิงประจักษ์โดยทั่วไป กำหนดประเด็นปัญหาทางคลินิก สืบค้นหาหลักฐาน/งานวิจัยที่ดีที่สุดอย่างเป็นระบบ ประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน/งานวิจัย สังเคราะห์หลักฐาน/งานวิจัย การประเมินผลการปฏิบัติการ/ผลลัพธ์ของโครงการ (Lawson, 2005)

การพยาบาลผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยสูงอายุ ปัญหา/ความต้องการ/ประเด็น*** ปัญหา (ตัวกระตุ้น) ความรู้ (ตัวกระตุ้น) ผู้สูงอายุมีความต้องการเฉพาะ

การเจ็บป่วยทำให้เกิดความเสื่อมถอยในการทำหน้าที่ ผู้ป่วยสูงอายุ การเจ็บป่วยทำให้เกิดความเสื่อมถอยในการทำหน้าที่ ก่อนเจ็บป่วย – เมื่อเจ็บป่วย – ในโรงพยาบาล – ก่อน จำหน่ายกลับบ้าน พยาบาลมองเห็นปรากฏการณ์นี้หรือไม่, ผลการวิจัย อันตรายของการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล (Hazard) พยาบาลคิดอย่างไร? ทำอย่างไร? ทำนายและเปลี่ยนแปลงได้ไหม? ครอบครัว และญาติผู้ดูแล, ผู้ดูแลที่ได้รับการว่าจ้าง

Model of Geriatric Assessment Interdisciplinary Assessment Policy - นำไปสู่ - Geriatric Assessment Model of Geriatric Assessment Interdisciplinary Assessment Policy Procedures

ขั้นตอนการพัฒนาการพยาบาลผู้สูงอายุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ องค์การ (สมาคม....) สถาบัน ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ นักวิชาการ ทีมภายในวิชาชีพ/ระหว่างวิชาชีพ

บทบาทผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงสาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ Expert practitioner Educator Consultant Researcher/EBP (utilization) Legal & Ethical issues Collaborator/Leadership

“Meta analysis has supported CGA, and prospective trial over three years applied to people over the age of 75 concluded that CGA can delay the development of disability and permanent admission to nursing home care” (Stuck, Aaron, Steiner, Alessi et al, 1995)