ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกช่างกลโรงงาน ปีการศึกษา 2550 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ ผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของ ครูแผนกช่างกลโรงงาน ด้านความรู้ความเข้าใจของครู ใช้แบบสำรวจ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 60 คนของกลุ่มประชากร ด้วยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ ใช้สถิติค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) พบว่า โดยรวมนักเรียนมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการสอนของครูด้านความรู้ความเข้าใจของครูระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.19 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 0.63 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงสุดคือ จิตวิทยาในการอยู่กับผู้เรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากันที่ 4.23 ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือในเรื่องความสนใจต่อผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีค่าเฉลี่ย 4.17 นั่นหมายความว่า ประเด็นที่ควรพัฒนาคือความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล ผู้วิจัย : นายสมพร มั่งมูล ปีการศึกษา : 2550
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกช่างกลโรงงาน ปีการศึกษา 2550 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ ผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของ ครูแผนกช่างกลโรงงานด้าน ความสามารถของครู ใช้แบบสำรวจ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 60 คนของกลุ่มประชากร ด้วยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ ใช้สถิติค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) พบว่า โดยรวมนักเรียนมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการสอนของครูด้านความสามารถของครูระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 0.69 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงสุดคือ ครูมีทักษะการจัดการสอนตามความสามารถของนักเรียน มีค่าเฉลี่ย 4.24 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 0.66 รองลงมาครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง มีค่าเฉลี่ยเท่ากันที่ 4.16 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 0.72 ผู้วิจัย : นายสมพร มั่งมูล ปีการศึกษา : 2550
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกช่างกลโรงงาน ปีการศึกษา 2550 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ ผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของ ครูแผนกช่างกลโรงงานด้านความ มุ่งมั่นของครู ใช้แบบสำรวจ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 60 คนของกลุ่มประชากร ด้วยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ ใช้สถิติค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) พบว่า โดยรวมนักเรียนมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการสอนของครูด้านความมุ่งมั่นของครูระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.17 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 0.64 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงสุดคือ ครูมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือในเรื่องเป็นแบบอย่างที่ดี มีค่าเฉลี่ย 4.15 นั่นหมายความว่า ประเด็นที่ควรพัฒนาคือ การเป็นแบบอย่างที่ดี ผู้วิจัย : นายสมพร มั่งมูล ปีการศึกษา : 2550