สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ การบริหารจัดการหนี้ และการดำเนินการทางกฎหมายกับลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดย อ.เดชา กิตติวิทยานันท์ และทีมงานทนายคลายทุกข์ วิทยากรฝึกอบรม 28 กุมภาพันธ์ 2552
วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม 1. เพื่อให้เสริมสร้างความรู้ด้านการบริหารจัดการหนี้ - ความหมายของคำว่าหนี้ - ทำไมต้องมีความรู้ด้านการบริหารจัดการหนี้ - ผลกระทบหากไม่มีความรู้ด้านการบริหารจัดการหนี้ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านกฎหมายเกี่ยวกับลูกหนี้ - หนี้ที่จะบังคับได้ตามกฎหมายต้องมีกฎหมายรองรับ - ผลกระทบของการทวงหนี้ที่ฝ่าฝืนกฎหมาย 28’Feb 2009
วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม 3. เพื่อพัฒนาทักษะ และระดมสมองเพื่อแก้ปัญหาในการทำงานให้เกิดความเข้าใจเป็นแนวทางเดียวกันในการทำงานร่วมกันอย่างเป็นทีม - ต่างคนต่างทำงานจะสร้างความสับสนให้กับองค์กรและลูกค้า - ต้องมีเป้าหมายร่วมกัน - มีมาตรฐานเดียวในการทำงานทั้งองค์กร - ไม่มีทักษะในการทำงาน โอกาสที่งานล้มเหลวมีสูง - การระดมสมองช่วยให้เกิดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด - การทำงานเป็นทีมทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ 28’Feb 2009
ขั้นตอนการจัดประเภทลูกหนี้ 1. ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน 2. ตามหมวดหมู่ของปัญหาที่พบ 3. ตามสาขาอาชีพ 4. ตามพื้นที่ 28’Feb 2009
ขั้นตอนการจัดประเภทลูกหนี้ 5. ทุนทรัพย์ 6. ประเภทธุรกิจ 7. ตามอายุหนี้ หรือตามจำนวนงวดที่ค้างชำระ 8. ปัญหาเศรษฐกิจ 28’Feb 2009
ขั้นตอนการจัดประเภทลูกหนี้ 9. ตกงาน ว่างงาน 10. ภัยธรรมชาติ 11. ตั้งใจไม่ชำระหนี้ พวกหัวหมอ 12. ติดต่อไม่ได้ 28’Feb 2009
ขั้นตอนการจัดประเภทลูกหนี้ 13. มีปัญหาเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา 14. ไม่เข้าใจเกี่ยวกับเงื่อนไขและเงื่อนเวลาในการชำระ 15. ตาย 16. พิการ 28’Feb 2009
ขั้นตอนการจัดประเภทลูกหนี้ 17. ไม่ใช่ลูกหนี้ที่แท้จริง 18. มีปัญหาเรื่องการทุจริต 28’Feb 2009
เทคนิคการวิเคราะห์หนี้ แนวโน้มของหนี้ที่เริ่มมีปัญหา 1 2 3 ต้นตอของปัญหาที่แท้จริง ฐานะทางการเงินที่ถูกต้อง ปัจจัยภายนอก 28’Feb 2009
เทคนิคการวิเคราะห์หนี้ แนวโน้มของหนี้ที่เริ่มมีปัญหา 4 5 6 ปัจจัยภายในตัวลูกหนี้ เทคนิคในการหาข้อมูล ช่องทางในการหารายได้ 28’Feb 2009
เทคนิคการวิเคราะห์หนี้ แนวโน้มของหนี้ที่เริ่มมีปัญหา 7 8 9 ตัวช่วยของลูกหนี้ ความแน่นอนของรายได้ ความเสี่ยงของรายได้ 28’Feb 2009
เทคนิคการวิเคราะห์หนี้ แนวโน้มของหนี้ที่เริ่มมีปัญหา 10 11 12 ทัศนคติของลูกหนี้ ความประพฤติของลูกหนี้ เจ้าหนี้รายอื่น 28’Feb 2009
เทคนิคการวางแผนงาน กระบวนการติดตามหนี้ และการกำหนดเป้าหมายในการเก็บหนี้ ทักษะ ความถนัด แรงจูงใจ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ความมุ่งมั่น คุณสมบัติส่วนตัว 28’Feb 2009
การกำหนดกรอบการทำงาน เทคนิคการวางแผนงาน กระบวนการติดตามหนี้ และการกำหนดเป้าหมายในการเก็บหนี้ การกำหนดกรอบการทำงาน วิธีการติดตาม เงื่อนไข/เงื่อนเวลา อุปสรรค การแก้ปัญหา การรายงาน การประเมินผล 28’Feb 2009
การจัดเตรียมข้อมูลลูกหนี้ เทคนิคการวางแผนงาน กระบวนการติดตามหนี้ และการกำหนดเป้าหมายในการเก็บหนี้ การจัดเตรียมข้อมูลลูกหนี้ ชื่อ/ภาพถ่าย ที่อยู่ เบอร์โทร ยอดหนี้ 28’Feb 2009
เริ่มปฏิบัติการทวงหนี้ เทคนิคการวางแผนงาน กระบวนการติดตามหนี้ และการกำหนดเป้าหมายในการเก็บหนี้ สร้างองค์ความรู้ใหม่ ประเมินผล จัดทำคู่มือ ถ่ายทอดประสบการณ์ รายงานความคืบหน้า สร้างทีมงาน เริ่มปฏิบัติการทวงหนี้ 28’Feb 2009
เทคนิคการทวงหนี้แต่ละประเภท โทรศัพท์ จดหมาย SMS 28’Feb 2009
เทคนิคการทวงหนี้แต่ละประเภท ไปรษณียบัตร ภาคสนาม ติดประกาศ 28’Feb 2009
เทคนิคการทวงหนี้แต่ละประเภท การถ่ายภาพ จัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์แนวโน้ม 28’Feb 2009
ศิลปะในการติดตามและเร่งรัดหนี้สิน การทักทายแบบสุภาพ 1 มีจิตใจให้บริการ 2 น้ำเสียงในการพูดสุภาพอ่อนโยน 3 แจ้งวัตถุประสงค์ในการทวงหนี้ 4 สอบถามสาเหตุการค้างชำระ 5 28’Feb 2009
ศิลปะในการติดตามและเร่งรัดหนี้สิน รับฟังปัญหาของลูกหนี้ก่อน 6 ตอบโต้ให้ตรงประเด็น 7 เห็นอก เห็นใจ 8 ให้โอกาสลูกหนี้ 9 ชี้แนะ 10 28’Feb 2009
ศิลปะในการติดตามและเร่งรัดหนี้สิน ควบคุมอารมณ์ 11 หลีกเลี่ยงถ้อยคำรุนแรง 12 ทัศนคติเชิงบวก 13 สร้างความรู้สึกที่ดี 14 การเป็นผู้ฟังที่ดี 15 28’Feb 2009
ศิลปะในการติดตามและเร่งรัดหนี้สิน ความอดทน 16 ไหวพริบเชาว์ปัญญา 17 การเป็นนักเจรจาต่อรอง 18 ความเชื่อมั่นในตนเอง 19 ชี้ทางออกให้กับลูกหนี้ 20 28’Feb 2009
ศิลปะในการติดตามและเร่งรัดหนี้สิน ช่วยเหลือลูกหนี้ 21 ให้กำลังใจ 22 สร้างสัมพันธ์ที่ดี 23 สร้างความไว้ใจ 24 ไม่ดูถูกเหยียดหยาม 25 28’Feb 2009
ศิลปะในการติดตามและเร่งรัดหนี้สิน ไม่ข่มขู่ 26 ไม่คุกคาม 27 ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล 28 ไม่หลอกลวง 29 ไม่ละเมิดกฎหมาย 30 28’Feb 2009
ศิลปะในการติดตามและเร่งรัดหนี้สิน ไม่ละเมิดจรรยาบรรณ 31 ไม่ละเมิดศีลธรรมอันดี 32 รักษาภาพลักษณ์ 33 28’Feb 2009
จบการนำเสนอ 28’Feb 2009