พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
วิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม รหัส 2001-0008 วิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม รหัส 2001-0008 เรื่อง..ชีวิตกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม ตอน 1 โดย...ว่าที่ร.อ.ชัชวาลย์ จันทร์กลิ่น วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
e-mail : chanklin08@hotmail.com โทร. 0 3252 0500 ต่อ 204 e-mail : chanklin08@hotmail.com
1. พลังงานกับชีวิต 2. ความหมายของพลังงาน 3. รูปแบบของพลังงาน สาระการเรียนรู้ 1. พลังงานกับชีวิต 2. ความหมายของพลังงาน 3. รูปแบบของพลังงาน
ชีวิตของเราเกี่ยวข้องกับพลังงานอย่างไร ?
มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้พลังงานจากธรรมชาติได้แก่พลังงานจาก คน สัตว์ มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้พลังงานจากธรรมชาติได้แก่พลังงานจาก คน สัตว์ การใช้พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ และพัฒนาเป็นพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ
พลังงานกับชีวิต พลังงานเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ ต่อการดำรงชีพ การประกอบอาชีพ ความผาสุกของสังคม ความเจริญก้าวหน้า ฯลฯ
ประโยชน์ของพลังงาน 1. การผลิต ทั้งเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม ต้องอาศัยพลังงาน ในการผลิต
2. การสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา พลังงานคือหัวใจของการสาธารณูปโภค 2. การสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา พลังงานคือหัวใจของการสาธารณูปโภค
3. การอำนวยความสะดวกในชีวิต ประจำวัน ต้องอาศัยพลังงานทุกรูปแบบ 3. การอำนวยความสะดวกในชีวิต ประจำวัน ต้องอาศัยพลังงานทุกรูปแบบ
4. การขนส่งและการสื่อสาร ต้องอาศัยพลังงานทั้งสิ้น
5. การแพทย์ เช่น การเอกซเรย์รักษาคนไข้ การใช้แสงผ่าตัดดวงตาและรักษาโรคมะเร็ง
6. สินค้า ได้แก่ พลังงานรูปแบบต่าง ๆ เช่น น้ำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน
7. การทหาร พลังงานได้ถูกดัดแปลงมาใช้ทางการทหาร เช่น อาวุธ ขีปนาวุธ เครื่องบินรบ ฯลฯ
พลังงาน คือ ความสามารถในการทำงาน ความหมายของพลังงาน + พลัง งาน พลังงาน คือ ความสามารถในการทำงาน
1. พลังงานศักย์ คือ พลังงาน ที่เก็บ หรือแฝงในวัตถุนั้น รูปแบบของพลังงาน 1. พลังงานศักย์ คือ พลังงาน ที่เก็บ หรือแฝงในวัตถุนั้น
2. พลังงานจลน์ คือ พลังงาน ในวัตถุที่เกิดการเคลื่อนที่ 2. พลังงานจลน์ คือ พลังงาน ในวัตถุที่เกิดการเคลื่อนที่
3. พลังงานภายใน คือ พลังงานที่เกิด การแปรรูป ทำให้มีการถ่ายเทพลังงาน จึงเกิดพลังงานรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่
1. พลังงานกล เป็นพลังงานที่ใช้ประโยชน์ผ่านกลไกการเคลื่อนที่ 1. พลังงานกล เป็นพลังงานที่ใช้ประโยชน์ผ่านกลไกการเคลื่อนที่ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า น้ำในเขื่อน การหมุนของเพลาคือพลังงานกล กังหัน เพลา
เมื่อวัตถุเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ จะเกิดการถ่ายเทความร้อน 2. พลังงานความร้อน เมื่อวัตถุเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ จะเกิดการถ่ายเทความร้อน เชื้อเพลิง ความร้อน
แหล่งพลังงานเมื่อเปลี่ยนรูปหรือเกิด ปฏิกิริยาเคมีจะให้พลังงานความร้อน 3. พลังงานเคมี แหล่งพลังงานเมื่อเปลี่ยนรูปหรือเกิด ปฏิกิริยาเคมีจะให้พลังงานความร้อน น้ำมัน เผาไหม้ ความร้อน
4. พลังงานไฟฟ้า ไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแส
พลังงานสามารถเปลี่ยนรูปแบบหนึ่งไปอีกรูปแบบหนึ่ง เช่น การหุงต้มอาหารเป็นการเปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานความร้อน
เมื่อมีการเปลี่ยนรูปพลังงานจะยิ่งมีการสูญเสียพลังงานมาก หลักการประหยัดพลังงานคือ การทำให้เปลี่ยนรูปพลังงานมีการสูญเสียพลังงานที่ไม่ต้องการให้น้อยที่สุด
กิจกรรม ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในหัวข้อที่เรียนในวันนี้จาก Internet ห้องสมุด หรือแหล่งความรู้อื่น ๆ
พลังงานมีจำกัด ช่วยประหยัดเพื่อวันหน้า พลังงานมีจำกัด ช่วยประหยัดเพื่อวันหน้า สวัสดี