โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน. บรรยายพิเศษ เรื่อง บทบาทหน้าที่ ภารกิจ ความรับผิดชอบ นักจัดการงานทั่วไป โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ข้อมูลเกี่ยวกับตำแหน่งของท่าน ชื่อตำแหน่ง นักจัดการงานทั่วไป ตำแหน่งประเภท วิชาการ สายงาน จัดการงานทั่วไป ระดับ ปฏิบัติการ (ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ) สถานที่ปฏิบัติงาน สำนักงาน กศน.จังหวัด สำนักงาน กศน.กทม.
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะ : ผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ทางวิชาการ ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการภายในสำนักงาน หรือ การบริหารราชการทั่วไป ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ 1. ด้านการปฏิบัติการ - รวบรวมข้อมูล สถิติ สรุปรายงาน - เลขานุการผู้บริหาร - จัดเตรียมการประชุม - ติดต่อประสานงาน - ช่วยคิดติดตามการปฏิบัติตามมติของที่ประชุมหรือตามคำสั่งของผู้บริหาร
การรวบรวมข้อมูล ประเภทของข้อมูล (ข้อมูลดิบ + ข้อมูลที่วิเคราะห์แล้ว) แหล่งข้อมูล การรายงาน / นำเสนอข้อมูล การจัดเก็บ / บันทึกข้อมูล
เลขานุการผู้บริหาร การเสนอเรื่อง การลงนัดหมาย การจัดหาข้อมูล / วิเคราะห์ข้อมูล การประสานงาน การไปราชการ การร่าง / พิมพ์งาน การต้อนรับแขก การดูแล / อำนวยความสะดวกต่าง ๆ งานที่ผู้บริหารมอบหมาย
2. ด้านการวางแผน - วางแผนการทำงานของตนเอง - ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านประสานงาน - ประสานการทำงานที่ได้รับมอบหมายให้สอดคล้องกับภาพรวมผลงานของทีมงาน - ประสานกับสมาชิกในทีมงาน เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
4. ด้านการบริหาร - ตอบปัญหา / ชี้แจง / ให้คำแนะนำ เกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบในระดับต้น - ให้แก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป - เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบข้อมูลและเกิดความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ
หน้าที่ของสำนักงาน กศน. จังหวัด “เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด และมีอำนาจหน้าที่บริหารจัดการศึกษา กศน. ภายในจังหวัด...” (มาตรา 17 พ.ร.บ. ส่งเสริม กศน.)
ภารกิจตามโครงสร้าง สำนักงาน กศน. จังหวัด 1. กลุ่มอำนวยการ 2. กลุ่มยุทธศาสตร์และการพัฒนา 3. กลุ่มส่งเสริมการศึกษานอกระบบ 4. กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย 5. กลุ่มส่งเสริมภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ 6. กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ภารกิจของกลุ่มอำนวยการ (5 – 7 คน) 1. งานธุรการ 8. งานสวัสดิการ 2. งานสารบรรณ 9. งานควบคุมภายใน 3. งานการเงิน 10. ศูนย์ราชการใสสะอาด 4. งานบัญชี 11. งานบุคลากร 5. งานพัสดุ 12. งานนิติกร 6. งานอาคารสถานที่ 7. งานยานพาหนะ
แนวทางปฏิบัติของกลุ่มอำนวยการ กลุ่มงานบริหารทั่วไป กลุ่มงานบริหารบุคคล กลุ่มงานบริหารการเงินและทรัพย์สิน กลุ่มงานประชาสัมพันธ์
แนวทางปฏิบัติของกลุ่มงานบริหารทั่วไป งานธุรการ งานอาคารสถานที่ งานยานพาหนะ งานจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร
แนวปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ ร่าง โต้ตอบ รับ-ส่งหนังสือราชการ จัดทำทะเบียนรับ - ส่ง รวบรวม/เผยแพร่ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ เก็บรักษา/ทำลาย หนังสือราชการ ควบคุมการใช้โทรศัพท์/โทรสาร/อินเตอร์เน็ต งานเลขานุการผู้บริหาร การนัดหมาย การประสานงาน การจัดเตรียมเอกสาร/ข้อมูล ตรวจสอบ/กลั่นกรองงานเพื่อนำเสนอ
แนวปฏิบัติงานธุรการ (ต่อ) 3. งานประชุมข้าราชการ - จัดประชุม 4. งานสวัสดิการ - สวัสดิการของรัฐ - สวัสดิการของหน่วยงาน 5. งานรัฐพิธี / ราชพิธี / วันสำคัญ - ประสานแจ้งเวียน - เตรียมการด้านต่างๆ
แนวปฏิบัติงานอาคารสถานที่ ปรับปรุง / ต่อเติม ก่อสร้าง การบำรุงรักษา ควบคุมการใช้หรือให้บริการ การรักษาความปลอดภัย แนวปฏิบัติงานยานพาหนะ การจัดทำประวัติการใช้ การจัดระบบการให้บริการ การซ่อมบำรุง
แนวปฏิบัติงานจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร การพัฒนาองค์กร การจัดทำระเบียบ / ประกาศ การควบคุมภายใน ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด
ขอขอบคุณและเป็นกำลังใจให้ทุกท่าน