การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. ศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่างปฎิบัติงานของบุคลากรฯ ของโรงพยาบาลพุทธชินราช 2. ศึกษาหาสาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุฯ 3. ศึกษาการปฎิบัติตนภายหลังได้รับอุบัติเหตุฯ
วัสดุและวิธีการวิจัย - เป็นการศึกษาแบบ Descriptive crossectional retrospective ศึกษาย้อนหลังเป็นเวลา 1 เดือน - กลุ่มประชากรที่ศึกษาเป็นบุคลากรฯ ของโรงพยาบาลพุทธชินราช จำนวน 1,323 คน - สุ่มตัวอย่างโดยวิธี STRATIFIED SAMPLING จำนวน 260 คน โดยเป็น RN 69 คน DOCTORS 30 คน TN 40 คน INTERNS 20 คน AID 41 คน MEDSTU 40 คน TECH 20 คน
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย แบบสอบถามเกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุฯระหว่างปฎิบัติงานในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา ( self- administered questionnaire )
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา แสดงผลเป็นตารางแสดงความถี่และค่าร้อยละ
นิยามศัพท์ @ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข @ อุบัติเหตุฯ มี 3 ประเภทดังนี้ - ประเภทที่ 1 ขณะเตรียมทำหัตถการ - ประเภทที่ 2 ขณะทำหัตการ - ประเภทที่ 3 หลังทำหัตการ