การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
นโยบายและการขับเคลื่อน
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
ขบวนจังหวัดระยอง. แนวคิดและหลักการ ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ชุมชน เข้มแข็ง สร้างคน สร้าง ขบวน ถอด องค์ ความรู้ ปฏิบัติ จริง.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุมระดมความคิด
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น หน่วยสนับสนุนเชื่อมโยงขบวนที่อยู่อาศัยและที่ดินทำกิน สำนักงานโครงการบ้านมั่นคง สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)

การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น 1. เป้าหมาย สร้างความมั่นคงในที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยอย่างเป็นธรรมและยั่งยืนตามวิถีชุมชนท้องถิ่น สร้างระบบการบริหารจัดการที่ดินร่วมแนวใหม่ และเป็นเครื่องมือสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ผลักดันแนวคิดและการจัดการเรื่องที่ดินให้เป็นปัจจัย การผลิตที่มีคุณค่า การเชื่อมโยงขบวนชุมชน(เมือง ชนบท ประเด็น) การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น

การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น 2. แนวทางสำคัญ ใช้พื้นที่ตำบลเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ในการปฏิบัติการ ประสานและเชื่อมโยงขบวนองค์กรชุมชน ภาคี ท้องถิ่น และงานประเด็นพัฒนาในพื้นที่ เร่งสร้างพื้นที่รูปธรรมนำร่องในพื้นที่ที่มีความพร้อม ทั้งชุมชน ท้องถิ่น และภาคี ใช้ข้อมูลทุกมิติ เช่น ที่ดิน กายภาพ ผู้คน สังคม ระบบการผลิตในแต่ละพื้นที่ เป็นเครื่องมือในการสร้างผังตำบล การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น

3. ทิศทางการจัดการที่ดินแนวใหม่ ที่ดินเป็นปัจจัยการผลิตที่มีคุณค่ามากกว่ามูลค่า การจัดการและดูแลที่ดินโดยชุมชนและท้องถิ่น (การวางแผน การจัดการ การจัดสวัสดิการ การใช้ประโยชน์) สร้างความมั่นคงในที่ดินอย่างเป็นธรรมและเอื้ออาทรของชุมชน แก้ปัญหาที่ดินเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต การจัดการที่ดินโดยรวมโดยใช้พื้นที่ตำบลเป็นยุทธศาสตร์ (ทำทั้งตำบล) การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น

การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น 4. จังหวะในการเดิน หารือทีมภาค (สร้างความเข้าใจร่วม/จนท.ผู้รับผิดชอบ/กำหนดทิศทาง) จัดสัมมนาทีมระดับภาค (ชุมชนนำร่อง/จนท.) ทีมบริหาร พอช. จัดทิศทางการสนับสนุนและพัฒนาโครงการเสนอรัฐบาล (งบสนับสนุน/งบพื้นที่ปฏิบัติการ/งบเชื่อมโยง/งบบริหาร) จัดสัมมนาระดับประเทศ (สรุปทิศทาง/การเชื่อมโยง) ปฏิบัติการ (พื้นที่นำร่อง/ชุดความรู้/ศูนย์การเรียนรู้/พัฒนาศักยภาพ ฯลฯ) เสนอแผนปฏิบัติการต่อรัฐบาล การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น

การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น 5. เครื่องมือ ระบบข้อมูลที่ดิน (แผนที่ทำมือ GIS ทำแผนที่ดิจิตอล) ขบวนองค์กรชุมชน/การเชื่อมโยงขบวนชุมชนทุกขบวน/แยกกันปฏิบัติการ การจัดการเรื่องระบบทุนภายใน การถอดความรู้ที่มีอยู่เดิม หรือการวิจัยเพิ่มเติม สร้างกลไกร่วมระดับพื้นที่ร่วมกัน การพัฒนาให้เกิดศูนย์การเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพแกนนำ และเจ้าหน้าที่ การวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ การวางผังตำบลโดยชุมชนและท้องถิ่นเพื่อนำไปสู่ระบบการจัดการทรัพยากรทั้งหมดในพื้นที่ การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น

6. ตำบลเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ เป็นพื้นที่ที่มีหน่วยรัฐที่มีความใกล้ชิดกับชุมชน (อบต. เทศบาล) มีความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างอำนาจระหว่างกันและจัดความสมดุลย์ได้ดีกว่ารัฐอื่น มีสภาองค์กรชุมชน มีอำนาจ (งบประมาณ กลไก ยุทธศาสตร์ กฎหมาย) ในตัวเอง พื้นที่ปกครองที่ใกล้ แคบในเชิงกายภาพ และสามารถจัดการดูแลทรัพยากรได้ง่าย มีวัฒนธรรม ประเพณี แบบเดียวกัน/ใกล้เคียงกัน มีองค์ประกอบทางสังคม (ชุมชน วัด/โรงเรียน ท้องถิ่น ภาคี) การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น

7. พื้นที่รูปธรรมนำร่อง ขบวนชุมชนมีทิศทางและการจัดการที่ดินแนวใหม่ มีความร่วมมือที่ดีร่วมกันระหว่างชุมชน ท้องถิ่น และภาคี สามารถสร้าง ขยายผล และเชื่อมโยงกับขบวนอื่นๆ ได้ การจัดการที่ดินทำกินโดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น