กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
สารสนเทศ ด้านการจัดการเรียน-การสอน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
Use Case Diagram.
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
SCC : Suthida Chaichomchuen
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ประสบการณ์และคุณค่าแห่งการทำงานร่วมกัน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.

สัมมาทิฐิกอง บริการการศึกษา ครั้งที่ 1 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2548.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ฐานข้อมูลงานวิจัยและการประเมินงานวิจัยในอนาคต
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
E-Sarabun.
คำอธิบายรายวิชา 1.คำอธิบายรายวิชา (คัดจากเอกสารหลักสูตร)
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม

งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า pp@ku.ac.th

หัวข้อวันนี้ ๑๐๓๐-๑๑๑๕ ๑๑๑๕-๑๒๐๐ กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย การเสนอโครงการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี ๒๕๕๑ โดยระบบเว็บ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ปัญหาของสารสนเทศใน มก. ไม่มีข้อมูลที่ทันสมัย เนื่องจาก ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่มีการตรวจสอบ ใช้ความเชื่อใจในความมีจรรยาบรรณ ไม่สามารถรับรองข้อมูลได้ เคยเชื่อว่าผู้ให้ข้อมูลคงให้ถูกต้อง ข้อมูลของมหาวิทยาลัย แต่มหาวิทยาลัยไม่ได้รับรอง ไม่สามารถนำข้อมูลที่มีอยู่แล้วมาใช้ใหม่ได้ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ปัญหาของสารสนเทศใน มก. มีการใช้ข้อมูลของหน่วยงานอื่น แต่ไม่ได้เชื่อมโยงโดยตรง ข้อมูลงานวิจัย ก็ต้องใช้ข้อมูลบุคคลากร สำนักประกัน ก็ใช้ข้อมูลของ สวพ มก. มีขนาดใหญ่มาก บุคคลากร นิสิต ภาควิชา คณะ ไม่มีกระบวนการที่ชัดเจน ข้อมูลวิจัยขอที่ใคร ทุกคน วิ่งขอที่นักวิจัยทั้งหมด ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ปัญหาของสารสนเทศใน มก. หน่วยงานที่ใช้ข้อมูลมีจำนวนมาก หน่วยงานภายใน ภาควิชาต่างๆ คณะต่างๆ วิทยาเขตต่างๆ กองแผนงาน กองการเจ้าหน้าที่ สำนักทะเบียน สำนักประกัน สถาบันวิจัย กองบริการ บัณฑิตวิทยาลัย หน่วยงานภายนอก กพร สมศ สกอ สกว สวพ เวียนหนังสือ ปีละหนึ่งครั้ง เท่านั้น ผู้ให้ข้อมูลเบื่อหน่ายต่อการขอซ้ำซ้อน สวพ.ไม่ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้อง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

การกำหนดผู้รับผิดชอบ ใน มก. การเงิน กองคลัง บุคคลากร กองการเจ้าหน้าที่ หลักสูตร กองบริการการศึกษา นิสิต สำนักทะเบียน Infrastructure สำนักบริการคอมพิวเตอร์ งานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

หน้าที่ จัดกระบวนการประมวลผลข้อมูล (process) ข้อมูลถูกต้อง ทันสมัย ไม่ซ้ำซ้อน กำหนดผู้ให้ข้อมูล (data provider) ข้อมูลเกิดขึ้นจากใคร ผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ให้ ทวนสอบ (validate) ข้อมูล ข้อมูลทุกชิ้นต้องได้รับการตรวจสอบ รับรอง (certify) ข้อมูล การนำข้อมูลไปใช้อ้างอิงต่างๆในมหาวิทยาลัยต้องได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่ดูแล สร้างช่องทางการเข้าถึง (access) ข้อมูล ต้องให้หน่วยงานที่ไม่ได้เป็นผู้ดูแลข้อมูลมีโอกาสใช้ข้อมูล ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

กรณีความสำเร็จ : ผลการเรียนนิสิต การให้ข้อมูล อาจารย์ ให้ข้อมูลผลการเรียนเพียงครั้งเดียว การตรวจสอบ โดยสำนักทะเบียน การนำข้อมูลไปใช้ ผลการเรียนไปใช้จะต้องใช้ transcript ซึ่งได้รับการรับรองจากสำนักทะเบียน ข้อสังเกต ข้อมูลเกรดมีปีละ > ๔๐๐๐๐๐ ข้อมูลงานวิจัยปีละ < ๑๐๐๐๐ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

สารสนเทศงานวิจัย ผู้ให้ข้อมูล ข้อมูล ผู้ทวนสอบและรับรองข้อมูล นักวิจัย ข้อมูล รายละเอียดงานวิจัยทั้งหมด (โครงการ  ผลลัพธ์) ผู้ทวนสอบและรับรองข้อมูล สวพ ผู้ใช้ข้อมูล หน่วยงานทั้งภายในและภายนอก มก. ที่ต้องการข้อมูลงานวิจัย ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

วิสัยทัศน์ สารสนเทศงานวิจัย ข้อมูลถูกต้อง ทันสมัย รับรองได้ สะดวก ลดภาระงานของอาจารย์ นักวิจัย เพื่อให้รู้จักตัวเอง เพื่อกำหนดทิศทาง นำไปใช้เพื่อการแข่งขันได้ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

แนวคิดของสารสนเทศงานวิจัย ผู้ให้ข้อมูล อาจารย์ นักวิจัย เป็นผู้ให้ข้อมูลที่จะต้องลงนามรับรอง ผู้แทนนักวิจัย (proxy) หน่วยงานสามารถกำหนดผู้ทำหน้าที่กรอกแทนข้อมูลแทนได้ แต่ผู้รับผิดชอบจะต้องเป็นเจ้าของข้อมูลนั้นๆ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

แนวคิดของสารสนเทศงานวิจัย กระบวนการ กระบวนการจะถูกกำกับด้วยระบบซอฟต์แวร์ เช่น การรับข้อเสนอ การส่งรายงาน ฯลฯ เอกสารกระดาษ ยังจำเป็นอยู่บางส่วน โดยเฉพาะ การลงนาม ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

แนวคิดของสารสนเทศงานวิจัย การทวนสอบข้อมูล สวพ จะทวนสอบข้อมูลทุกชิ้นเพื่อที่จะรับรองความถูกต้อง การรับรองข้อมูล เมื่อข้อมูลได้รับการทวนสอบ สวพจะสามารถรับรองข้อมูลได้ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ประโยชน์ของการรับรองข้อมูล ข้อมูลจะเป็นทางการ การพิจารณาความดีความชอบใดๆ ควรจะพิจารณาจากข้อมูลที่ผ่านการรับรองแล้วเท่านั้น ข้อมูลที่ไม่ได้รายงานไม่ควรได้รับการพิจารณา ตย.ในส่วนของสวพ ปีหน้าจะพิจารณารางวัลต่างๆจากฐานข้อมูลของสวพเท่านั้น เก็บทุกอย่างครบก็พิจารณาได้ แผนเสนอมหาวิทยาลัย การพิจารณาตำแหน่งวิชาการ จะต้องใช้ข้อมูลที่รับรองแล้วเท่านั้น ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ระบบสารสนเทศงานวิจัย ระบบบริหารโครงการวิจัย สำหรับกระบวนการทั้งหมดใน ทุนอุดหนุนวิจัย มก. จะต้องผ่านระบบนี้เท่านั้น ข้อเสนอ ผล รายงาน ครุภัณฑ์ ลูกจ้าง วิเคราะห์ ประเมินผล หาจุดแข็งจุดอ่อน ระบบผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ รวบรวมและสรุปผลงานต่างๆ ผลงานตีพิมพ์ สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ กระจายข้อมูล ให้หน่วยงานต่างๆที่ต้องการนำข้อมูลไปวิเคราะห์ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ระบบผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ โครงการวิจัย ทุนภายใน/นอก มก. ผลงาน ผลงานตีพิมพ์ในสารสาร การประชุมวิชาการ ทรัพย์สินทางปัญญา การนำไปใช้ประโยชน์ รางวัลนักวิจัย รางวัลผลงานวิจัย/สิ่งประดิษฐ์ รางวัลจากเสนอในการประชุมวิชาการ รายงานสรุป นักวิจัย ภาควิชา คณะ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

แนวคิด สร้างความสัมพันธ์กับตัวบุคคลและหน่วยงาน ข้อมูลทางการต่างๆจะป้อนให้โดย สวพ นักวิจัยไม่ต้องป้อน ข้อมูลจากฐานข้อมูลมาตรฐาน เช่น ISI, Scopus, ScienceDirect, ฯลฯ ข้อมูลที่นักวิจัยเองป้อนมาจะต้องส่งหลักฐาน เช่น บทความจะต้องส่งมาพร้อม หลักฐานการตอบรับ ข้อมูลที่ไม่ผ่านการทวนสอบ สวพ จะไม่รับรองข้อมูลนั้น ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

แนวคิด ข้อมูลต้องสะดวกในการนำไปใช้งานอื่น เช่น สร้างระเบียนรายการขอตำแหน่งวิชาการ ส่งข้อมูลต่อให้หน่วยงานอื่น เช่น สภาวิจัย ทำรายงานเบื้องต้นให้หน่วยงานต่างๆใน มก. นำไปใช้เพื่อรายงานต่อ หน่วยงานภายนอก ภาควิชา คณะ สำนักประกัน ฯลฯ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

การให้ความร่วมมือกับระบบของ สวพ ข้อมูลจะถูกต้องที่สุด มีเก็บอยู่เพียงที่เดียว ไม่ซ้ำซ้อน เก็บโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามภาระหน้าที่ ให้การรับรอง เพื่อนำไปใช้ได้ ลดการขอข้อมูลจากหน่วยงานที่ไม่ได้รับผิดชอบโดยตรง ให้หน่วยงานนั้นมาขอที่ สวพ ลดภาระให้แก่ทุกหน่วยงานที่ต้องทำข้อมูลในส่วนนี้ สวพ จะรับผิดชอบทั้งหมด ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย กระบวนการตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จมีอยู่แล้ว เกรดนิสิต ที่สำเร็จ เพราะ เราเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญ ที่ผ่านมา ก็คิดว่าข้อมูลงานวิจัยสำคัญ แต่ไม่เคยคิดเรื่องกระบวนการรวบรวม อนาคต เชื่อว่า กระบวนการข้อมูลใน มก. จะเป็นระบบในทุกๆเรื่อง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

สำหรับผู้ขอทุนปี ๕๑ ๓ เมนู สร้างใบนำส่งข้อเสนอโครงการ แก้ไข (ถ้าต้องการ) พิมพ์ใบนำส่ง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

สำหรับผู้ที่ได้รับทุน ๕๐ ๔ เมนู แบบแสดงรายละเอียด สัญญารับทุน ขออนุมัติเบิกเงิน รายงานความก้าวหน้า ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ข้อมูลเจ้าของโครงการวิจัย ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

รายการโครงการวิจัย ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ส่งแบบนำส่งข้อเสนอ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

โครงการชุด/เดี่ยว โครงการต่อเนื่อง/ใหม่ โครงการชุด/เดี่ยว โครงการต่อเนื่อง/ใหม่ ส่งแบบนำส่งข้อเสนอการวิจัย โครงการวิจัยเดี่ยว แผนงานวิจัย หรือชุดโครงการวิจัย ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ผู้ร่วมโครงการ ภายใน/ภายนอก ข้อมูลผู้ร่วมโครงการ ผู้ร่วมโครงการภายใน มก. ผู้ร่วมโครงการภายนอก มก. ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

แก้ไข ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

พิมพ์ใบนำส่ง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ใบนำส่ง ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ระบบผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

ระเบียนประวัติโครงการวิจัย รายชื่อโครงการที่มีสถานภาพเป็นหัวหน้าโครงการ รายชื่อโครงการที่มีสถานภาพเป็นผู้ร่วมโครงการ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย

การสร้างรายงานอัตโนมัติ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า - กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย