ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
เล่าเรื่องที่ประทับใจ
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
ผลงานที่ไม่เคยเก็บตัวชี้วัด
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
Point of care management Blood glucose meter
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน โดย วัชรี แก้วงาม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ทีมสหสาขาดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ HIV พยาบาลจากหน่วยงานOPD/ER/IPD/LR/ANC แพทย์ พยาบาลจากหน่วยงานOPD/ER/IPD/LR/ANC เภสัชกร HIV CO. แกนนำชมรม(PHA) นักเทคนิคการแพทย์

การติดเชื้อเอชไอวีใน 1. การตรวจวินิจฉัย ทางห้องปฏิบัติการ 2. การป้องกันและรักษา โรคติดเชื้อฉวยโอกาส 9. การ จัดองค์กร (ระบบบริหารจัดการ) 3. การรักษา ด้วยยาต้านไวรัส 8. ระบบข้อมูล เพื่อการดูแล มาตรฐาน การจัดบริการ ด้านเอดส์สำหรับ สถานบริการสาธารณสุข 4. บริการปรึกษา 7. จริยธรรมและสิทธิ 6. การป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีใน สถานบริการสาธารณสุข 5. บริการ ทางสังคม

ให้บริการผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับการตรวจ CD4 ปีละ 2 ครั้ง สรุปผลงานโดยย่อ : ปรับปรุงระบบการ ให้บริการผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับการตรวจ CD4 ปีละ 2 ครั้ง จนทำให้ผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับการตรวจ CD4 ครบ 2 ครั้ง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 75 เป็นร้อยละ 93

เป้าหมาย : เพิ่มอัตราการตรวจCD4ปีละ2ครั้งห่าง กัน 6 เดือน ในผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัสและที่ได้รับยา ต้านไวรัสแล้วจากร้อยละ75 เป็นร้อย ละ 100 ในปีงบประมาณ 2554  

มาตรฐานของการตรวจCD4 ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส และที่ได้รับยาต้านไวรัสแล้วต้องได้รับการ ตรวจระดับภูมิต้านทาน (CD4) ปีละ2ครั้งห่างกัน 6 เดือน

กระบวนการตรวจCD4 ให้บัตรนัดตรวจเลือด ตรวจเลือดที่ ห้องLAB วันรับยาต้าน ตรวจเลือดที่ ห้องLAB ตรวจสอบรายชื่อ ฟังผลวันรับยาต้าน กลับบ้าน

กราฟแสดงร้อยละการตรวจCD4ตามปีงบประมาณ

การดำเนินงาน: ประชุมทีมสหสาขาที่ดูแลผู้ติดเชื้อโดยมีอาสาสมัครแกน นำร่วมด้วย วิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน กำหนดแนวทางการแก้ปัญหา ทดลองปฏิบัติ นำผลการปฏิบัติมาวิเคราะห์ /ประเมินซ้ำ

การตรวจCD4 ต่ำกว่าเป้าหมาย ผู้ป่วย ระบบริการ IT ทำงานต่างจังหวัด จำกัดวัน,เวลา ไม่สบาย ไม่ทราบความสำคัญ รอนาน ลืมวันนัด ไม่มีเงินค่ารถ การตรวจCD4 ต่ำกว่าเป้าหมาย ค่าใช้จ่าย ปิดตัวครอบครัว เตรียมเอกสารไม่ทัน ไม่ได้นัด ขาดความรู้/ทักษะ งานล้นมือ ผู้ให้บริการ

ปรับจำนวนผู้รับบริการ นัดตรวจเลือด 30-40 คนต่อครั้ง กิจกรรม ก่อน หลัง กิจกรรมที่1 ปรับจำนวนผู้รับบริการ นัดตรวจเลือด 30-40 คนต่อครั้ง นัดตรวจเลือด 15-20 คนต่อครั้ง กิจกรรมที่ 2 ปรับบัตรนัด บัตรนัดหลายใบ/ แจกหลายครั้ง บัตรนัดใบเดียวเป็นรายปี กิจกรรมที่ 3 เพิ่มวันตรวจเลือด เดือนละ1วัน (อังคารที่ 2 ของเดือน) เดือนละ3วัน (อังคารที่ 1,2,3 ของเดือน) กิจกรรมที่4 โทรศัพท์ติดตาม เป็นบางราย ทุกรายที่ผิดนัด กิจกรรมที่ 5 ประสาน อปท.รับ-ส่ง ตรวจเลือด ไม่มี ประสานให้ในรายที่ต้องการ กิจกรรมที่ 6 รับบริการที่โรงพยาบาลใกล้ที่ทำงาน ไม่มีการแนะนำ มีการให้การปรึกษา/ประสาน กิจกรรมที่ 7 การเตรียมเอกสาร เตรียมล่วงหน้า 1 สัปดาห์ เตรียมล่วงหน้า 1-3 สัปดาห์

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด เป้า หมาย 2551 2552 2553 2554 ตค-มีค เมย-กย ร้อยละของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ยังไม่ได้รับยาต้านและรับยาต้านไวรัสแล้วได้รับการตรวจ CD4 ปีละ2ครั้งห่างกัน 6 เดือน ร้อยละ 90 70 n=67 100 n=74 75 n=97 93.47 N=184 93.15 N=190

กราฟแสดงร้อยละการตรวจCD4ตามปีงบประมาณ

บทเรียนที่ได้รับ เมื่อผลของการให้บริการไม่เป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำหนด ผู้ให้บริการมักคิดว่าผู้ป่วยไม่สนใจ ไม่ให้ความร่วมมือ โดยขาดการวิเคราะห์ระบบบริการของตนเองว่าระบบที่มีเอื้อต่อการรับบริการของผู้ป่วยแค่ไหน และถ้าลองมาวิเคราะห์ปัญหาร่วมกันโดยมีผู้รับบริการมาร่วมด้วย จะทำให้เราทราบว่า การดำเนินชีวิตและปัญหาของแต่ละคนแตกต่างกัน การแก้ไขปัญหาจึงต้องต่างกันด้วย ถ้าเรายึดหลักการให้บริการด้วยหลักของหัวใจความเป็นมนุษย์แล้ว จะต้องมีการยืดหยุ่นและปรับบริการให้เหมาะกับวิถีชีวิต ภายใต้หลักการที่ถูกต้องและได้มาตรฐานเท่าเทียมกัน เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกถึงความเข้าใจเห็นใจ และมีพลังที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป ฉะนั้น การปรับระบบการให้บริการให้เข้ากับวิถีชีวิต โดยใช้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุดของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

การติดต่อกับทีมงาน นางวัชรี แก้วงาม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางวัชรี แก้วงาม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ คลินิกฟ้าใส กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลโป่งน้ำร้อน โทรศัพท์ / E-mail 08-1293-9671 / w_kaewngam@hotmail.com